Page 54 -
P. 54
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
คุณภาพดินเพื่อการเกษตร
rhizobacteria, PGPR) ซึ่งทำ�ให้พืชเจริญเติบโตดีขึ้น เพิ่มก�รงอกของเมล็ด กระตุ้นก�รพัฒน�ดอกผล
เพิ่มมวลชีวภ�พของร�กและส่วนเหนือดิน
8.4.2 คว�มหล�กหล�ยท�งชีวภ�พกับโครงสร้�งดิน คว�มหล�กหล�ยท�งชีวภ�พมีผลต่อ
โครงสร้�งดิน ดังนี้ (ภ�พที่ 2.6 และต�ร�งที่ 1.1 ของบทที่ 1)
1) พฤกษช�ติจุลภ�ค (microflora) เช่น เชื้อร� แบคทีเรีย และแอคติโนไมซีต ช่วยผลิต
ส�รอินทรีย์ซึ่งทำ�หน้�ที่เชื่อมอนุภ�คดิน เส้นใยร�เกี่ยวพันให้อนุภ�คดินเก�ะกันเป็นเม็ดดิน
2) สัตวช�ติจุลภ�ค (microfauna) อันเป็นสัตว์ขน�ดเล็กหล�ยชนิด จะด้วยตัวมันเอง
หรืออันตรกิริย�ของสัตว์เหล่�นี้กับพฤกษช�ติจุลภ�คมีผลต่อโครงสร้�งดิน
3) สัตวช�ติมัชฌิมภ�ค (mesofauna) อันหม�ยถึงสัตว์ขน�ดกล�งซึ่งมีหล�ยชนิด สัตว์
เหล่�นี้ถ่�ยมูลออกม�เป็นก้อน แทรกในดินทำ�ให้เกิดช่อง กิจกรรมของสัตว์ยังส่งเสริมก�รเกิดฮิวมัส
4) สัตวช�ติมหัพภ�ค (macrofauna) เช่น ไส้เดือนดินช่วยผสมคลุกเคล้�ส�รอินทรีย์กับ
ส�รอนินทรีย์ เคลื่อนย้�ยส�รอินทรีย์ไปยังส่วนต่�งๆ ของดิน ซึ่งมีจุลินทรีย์ติดไปด้วย มีมูลที่ถ่�ยออกม�
เป็นก้อน ทำ�ให้เกิดช่องในดิน ส่งเสริมก�รเกิดฮิวมัส
ภ�พที่ 2.6 บทบ�ทของคว�มหล�กหล�ยท�งชีวภ�พต่อโครงสร้�งดิน (ภ�พขย�ยต�มลูกศร)
9. ผลกระทบเชิงนิเวศจ�กง�นในฟ�ร์ม
เหตุผลสำ�คัญประก�รหนึ่งของก�รศึกษ�ระบบนิเวศเกษตร คือ ต้องก�รทร�บผลกระทบจ�ก
ก�รกระทำ�ของมนุษย์ต่อระบบนี้ โดยเฉพ�ะอย่�งยิ่งก�รทำ�ฟ�ร์มแบบเข้มข้นหรือแบบประณีต (intensive
farming) ซึ่งประกอบด้วยกิจกรรมต่�งๆ เช่น ก�รปลูกพืชเชิงเดี่ยว (monoculture) ก�รคัดเลือกพันธุ์พืช
ปลูก ก�รปลูกในพื้นที่ขน�ดใหญ่ ก�รใช้เครื่องจักรกลหนักท�งก�รเกษตร ก�รใช้ปุ๋ยเคมีอย่�งเดียว และ
ส�รเคมีฆ่�ศัตรูพืชเกินคว�มจำ�เป็น (Tiller et al., 2000)
50 สมาคมดินและปุ๋ยแห่งประเทศไทย