Page 51 -
P. 51

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
                                                                        คุณภาพดินเพื่อการเกษตร





            ซับซ้อนท�งชีวภ�พอีกแล้ว  มนุษย์จึงต้องเพิ่มค่�ใช้จ่�ยเชิงเศรษฐกิจในก�รผลิตและค่�ใช้จ่�ยในก�รดูแล
            สิ่งแวดล้อมอย่�งม�ก  เพื่อดำ�รงผลิตภ�พของระบบไว้  เมื่อพิจ�รณ�เชิงเศรษฐกิจแล้ว  ภ�ระค่�ใช้จ่�ยใน

            ระบบก�รเกษตรส่วนม�กคือค่�ปัจจัยก�รผลิตซึ่งเป็นสิ่งเข้�จ�กภ�ยนอกอันมีร�ค�แพง  ทั้งนี้เนื่องจ�ก
            ระบบนิเวศเกษตรข�ด 2 ประก�รต่อไปนี้ คือ

                     1) ข�ดองค์ประกอบพื้นฐ�นซึ่งช่วยกระตุ้นก�รทำ�หน้�ที่ต่�งๆ ภ�ยในระบบ
                     2) ข�ดคว�มส�ม�รถภ�ยในระบบที่จะเพิ่มคว�มอุดมสมบูรณ์ของดินและควบคุมศัตรูพืชได้เอง
                     นอกจ�กนั้นยังมีค่�ใช้จ่�ยที่เกี่ยวเนื่องกับคุณภ�พชีวิตที่ลดลง  เนื่องจ�กมีภ�วะมลพิษของดิน

            และนำ้� ตลอดจนก�รปนเปื้อนของส�รฆ่�ศัตรูพืชในอ�ห�ร
                 8.3 ธรรมช�ติของคว�มหล�กหล�ยท�งชีวภ�พในระบบนิเวศเกษตร

                     ก�รเกษตรแผนใหม่ ใช้วิธีทำ�ให้โครงสร้�งของสภ�พแวดล้อมในพื้นที่กว้�งๆ มีลักษณะที่ง่�ยขึ้น
            โดยปลูกพืชและเลี้ยงสัตว์เพียงน้อยชนิด   แทนคว�มหล�กหล�ยท�งชีวภ�พที่เคยมีอยู่ในระบบนิเวศ
            ธรรมช�ติ  เห็นได้ว่�พื้นที่ก�รเกษตรของโลกในปัจจุบัน  มีจำ�นวนชนิดพืชที่ปลูกกันโดยประม�ณดังนี้

            ธัญพืช 12 ชนิด พืชผัก 23 ชนิด และไม้ผล 35 ชนิดเท่�นั้น ในพื้นที่ก�รเกษตรทั่วโลกประม�ณ 9,000
            ล้�นไร่  มีพืชไม่เกิน  70  ชนิด  เป็นภ�พที่แตกต่�งจ�กคว�มหล�กหล�ยท�งชีวภ�พของป่�ในเขตร้อนชื้น

            อย่�งสิ้นเชิง เนื่องจ�กในพื้นที่เพียง 1 เฮกต�ร์ (6.25 ไร่) มีไม้ยืนต้นม�กกว่� 100 ชนิด อย่�งไรก็ต�ม คว�ม
            หล�กหล�ยท�งชีวภ�พในระบบนิเวศเกษตรของประเทศในโลกที่ส�มสูงกว่�ในประเทศที่พัฒน�แล้ว
                     คว�มหล�กหล�ยท�งชีวภ�พในระบบนิเวศเกษตร ขึ้นอยู่กับลักษณะสำ�คัญ 4 ประก�ร คือ

                     1) คว�มหล�กหล�ยของพืชพรรณภ�ยในและรอบนอกระบบนิเวศเกษตร
                     2) ชนิดของพืชที่มีอยู่อย่�งถ�วรในระบบนิเวศเกษตร

                     3) คว�มเข้มของก�รจัดก�ร ซึ่งหม�ยถึงร�ยละเอียดและขั้นตอนก�รใช้เทคโนโลยีต่�งๆ  ในก�ร
            จัดก�รระบบก�รผลิต
                     4) สภ�พก�รแยกตัวของระบบนิเวศเกษตรออกม�จ�กพืชพรรณธรรมช�ติ

                     สิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศเกษตรแบ่งออกเป็น 3 กลุ่ม (ภ�พที่ 2.4) คือ
                     1) ชีวช�ติให้ผลผลิต (productive biota) ประกอบด้วย พืชปลูก (ทั้งชนิดล้มลุกและยืนต้น)

            และสัตว์เลี้ยง ซึ่งเกษตรกรเป็นผู้เลือกเข้�ม�ใช้ในระบบ จำ�นวนของสิ่งมีชีวิตเหล่�นี้เป็นตัวกำ�หนดบทบ�ท
            ในคว�มหล�กหล�ย และคว�มซับซ้อนของระบบนิเวศเกษตร
                     2)  ชีวช�ติซึ่งเป็นทรัพย�กร  (resource  biota)    ประกอบด้วยสิ่งมีชีวิตซึ่งช่วยสนับสนุนบ�ง

            ขั้นตอนในกระบวนก�รผลิต โดยทำ�หน้�ที่ถ่�ยเรณู ควบคุมท�งชีวภ�พ และย่อยสล�ยส�รต่�งๆ
                     3) ชีวช�ติผู้ทำ�ล�ย (destructive biota) ประกอบด้วยวัชพืช แมลงศัตรูพืช จุลินทรีย์ส�เหตุ

            โรคพืช ซึ่งเกษตรกรต้องก�รกำ�จัดด้วยกรรมวิธีต่�งๆ






                                                                สมาคมดินและปุ๋ยแห่งประเทศไทย      47
   46   47   48   49   50   51   52   53   54   55   56