Page 46 -
P. 46

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
          คุณภาพดินเพื่อการเกษตร





                   โดยปรกติผลิตภ�พของพืชต่�งๆ ในเขตชลประท�นจะสูงกว่�ในเขตที่ใช้เฉพ�ะนำ้�ฝน เนื่องจ�ก
                   1) ผลผลิตต่อไร่สูงกว่�

                   2) ปลูกพืชได้ปีละหล�ยครั้ง
                   3) มีโอก�สที่จะปลูกพืชมีร�ค�สูงซึ่งต้องก�รนำ้�อย่�งสมำ่�เสมอ
                   ห�กก�รชลประท�นเป็นระบบที่เชื่อถือได้  ก็จะเพิ่มเสถียรภ�พในก�รเพ�ะปลูก  เนื่องจ�ก

          เกษตรกรไม่ต้องเสี่ยงกับคว�มไม่แน่นอนของฝน  และระบบชลประท�นที่ดีย่อมเป็นปัจจัยหนึ่งที่ส่งเสริม
          ให้ก�รผลิตมีคว�มยั่งยืน  แต่ทั้งนี้ต้องไม่มีปัญห�ร้�ยแรง  เช่น  ดินเค็ม  และก�รระบ�ดของศัตรูพืชในบ�ง

          ช่วงเวล�  ซึ่งถ้�มีปัญห�ดังกล่�วก็ต้องเสียค่�ใช้จ่�ยสูงในก�รแก้ไข  และอ�จเป็นปัจจัยเชิงลบที่ทำ�ให้ผลิต
          ภ�พของระบบนิเวศเกษตรลดลง
                   แม้ในเขตชลประท�นด้วยกัน แปลงพืชที่อยู่ใกล้คลองส่งนำ้�หลักย่อมได้รับนำ้�บริบูรณ์กว่�แปลง

          ที่อยู่ปล�ยคลองซอย  ผลผลิตที่ได้จ�กแปลงทั้งสองจึงแตกต่�งกัน  เมื่อเป็นเช่นนี้คว�มยุติธรรมในพื้นที่
          ชลประท�นจึงน้อยกว่�ในพื้นที่เกษตรเขตนำ้�ฝน  ซึ่งในกรณีหลังผลผลิตจ�กทุกแปลงตำ่�เหมือนกัน    ส่วน

          สภ�วะอัตโนวัติของเกษตรกรในเขตชลประท�นจะตำ่�  เนื่องจ�กต้องขึ้นอยู่กับปริม�ณนำ้�ในเขื่อน  และ
          ดุลพินิจของเจ้�หน้�ชลประท�นซึ่งควบคุมก�รจัดสรรนำ้� โดยเฉพ�ะอย่�งยิ่งเมื่อคำ�นึงถึง 3 ปัจจัยต่อไปนี้
                   1) เกษตรกรปลูกพืชพันธุ์ที่ให้ผลผลิตสูงเป็นพิเศษ

                   2) ใช้ปัจจัยก�รผลิตด้�นปุ๋ยและก�รควบคุมศัตรูพืช ซึ่งจะตอบสนองต่อก�รใช้อย่�งดียิ่งเมื่อก�ร
          ชลประท�นไม่บกพร่องหรือไม่ข�ดแคลน

                   3) ปลูกในพื้นที่ขน�ดใหญ่ให้ได้ผลผลิตม�ก เพื่อตอบสนองต่อคว�มต้องก�รของตล�ดที่ให้ร�ค�
          ผลผลิตสูง
                   ด้วยเหตุนี้  เกษตรกรที่มีคว�มตั้งใจจะใช้เทคโนโลยีก�รเกษตรแผนใหม่จึงต้องพิจ�รณ�ถึงผลที่

          จะเกิดขึ้นทั้งหมด  ทั้งด้�นบวกและด้�นลบของก�รใช้เทคโนโลยีใหม่นั้น  เพื่อห�ข้อสรุปที่เหม�ะสมก่อน
          ก�รตัดสินใจเลือก ห�กมีผลต่อเนื่องในเชิงลบก็จะได้เตรียมห�ลู่ท�งช่วยบรรเท�ให้เกิดผลเสียน้อยที่สุด



          6. ระบบนิเวศเกษตรและระบบเทคโนโลยีเกษตร
                   ระบบนิเวศเกษตรและระบบเทคโนโลยีเกษตรมีคว�มแตกต่�งกัน (Hill, 1998) ดังภ�พที่ 2.2

               6.1 ระบบนิเวศเกษตร
                     ระบบนิเวศเกษตร คือ ระบบที่มีองค์ประกอบที่สำ�คัญ 3 ประก�ร คือ องค์ประกอบท�งชีวภ�พ

          องค์ประกอบท�งก�ยภ�พ  และองค์ประกอบท�งเศรษฐกิจและสังคม  ดังที่ได้กล่�วแล้ว  จัดเป็นระบบ
          เชิงซ้อนซึ่งมนุษย์เข้�ไปปรับแต่งเพื่อคว�มมุ่งหม�ยในก�รผลิตด้�นก�รเกษตร  ระบบนิเวศเกษตรอ�จมี
          ขน�ดเท่�ใดก็ได้ เช่น เป็นเพียงไร่ น� หรือสวนแปลงหนึ่ง พื้นที่เพ�ะปลูกของครอบครัวหนึ่ง ของเกษตรกร

          ทั้งตำ�บล จังหวัด ภูมิภ�คหรือประเทศ ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับกรอบของก�รพิจ�รณ�




       42        สมาคมดินและปุ๋ยแห่งประเทศไทย
   41   42   43   44   45   46   47   48   49   50   51