Page 41 -
P. 41

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
                                                                        คุณภาพดินเพื่อการเกษตร




                 2.1 ก�รเกษตรที่นำ�ไปสู่สภ�พแวดล้อมดี สังคมและเศรษฐกิจดีอย่�งยั่งยืน

                     1) สภ�พแวดล้อมดีอย่�งยั่งยืน ประกอบด้วย 3 ประเด็นหลัก คือ
                       (1) ดำ�รงคว�มหล�กหล�ยท�งชีวภ�พ  มีบริก�รจ�กระบบนิเวศที่ดีและเพียงพอ  สำ�หรับ
            บริก�รจ�กระบบนิเวศหรือนิเวศบริก�ร  หม�ยถึงผลประโยชน์ที่มนุษย์ได้รับจ�กระบบนิเวศ  อันได้แก่

            ผลผลิตเพื่อก�รอุปโภคและบริโภค รวมทั้งบริก�รอื่นๆ จ�กธรรมช�ติ เช่น ก�รมีนำ้�สะอ�ด ก�รควบคุม
            ปริม�ณค�ร์บอน ก�รหมุนเวียนธ�ตุอ�ห�ร และก�รรักษ�สภ�พดิน (ดูร�ยละเอียดในข้อ 12.1)

                       (2) ได้ผลิตภ�พสูงจ�กระบบนิเวศเกษตรอย่�งยั่งยืน  โดยไม่ล่วงลำ้�ให้ระบบนิเวศธรรมช�ติ
            ได้รับผลกระทบ
                       (3) จัดก�รทรัพย�กรธรรมช�ติได้ดี

                     2) สภ�พสังคมดีอย่�งยั่งยืน ประกอบด้วย 2 ประเด็นหลัก คือ
                       (1) เกื้อกูลให้มนุษย์มีสุขภ�พดี และมีโอก�สพัฒน�ตนเองต�มศักยภ�พ

                       (2)  มีคว�มเป็นอยู่ที่ดี มีอ�ห�ร เครื่องนุ่งห่มและแหล่งพลังง�นคุณภ�พดีที่เพียงพอ
                     3) สภ�พเศรษฐกิจดีอย่�งยั่งยืน ประกอบด้วย 2 ประเด็นหลัก คือ
                       (1) ช�วชุมชนมีร�ยได้พอเลี้ยงชีพและพัฒน�คุณภ�พชีวิต

                       (2) สร้�งมูลค่�เพิ่มของผลผลิตด้�นก�รเกษตรตลอดส�ยโซ่ของมูลค่� ( value chain ส�ย
            โซ่ของมูลค่� หม�ยถึงคว�มเชื่อมโยงของผลที่เกิดกับกิจกรรมหนึ่ง ซึ่งไปกระทบกับต้นทุนหรือประสิทธิผล

            ของกิจกรรมถัดม�)
                     ก�รปฏิบัติเพื่อให้ก�รเกษตรประสบผลสำ�เร็จนั้น  มีหล�ยแนวท�ง  เนื่องจ�กแต่ละพื้นที่มีคว�ม
            เหม�ะสมกับลักษณะเฉพ�ะในด้�นภูมิอ�ก�ศ  ภูมิประเทศ  ประช�กรและสภ�พสังคม  จึงไม่อ�จใช้วิธี

            เดียวกันให้ประสบคว�มสำ�เร็จได้เหมือนกันทุกที่  แต่หลักก�รเกี่ยวกับคว�มยั่งยืนด้�นสิ่งแวดล้อม  สังคม
            และเศรษฐกิจยังคงใช้ได้ทั่วไป

                 2.2 ก�รเกษตรกับก�รแก้ปัญห�ในอน�คต
                     แนวโน้มของก�รเกษตรในอน�คต จะเชื่อมโยงกับปัญห� 3 ประก�ร คือ ก�รเพิ่มประช�กรของ
            โลก ก�รเพิ่มของคนเมืองและก�รลดลงของแรงง�นภ�คเกษตรกรรม และก�รเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของ

            ผู้บริโภค
                     1) ก�รเพิ่มประช�กร เมื่อ พ.ศ. 2550 โลกมีประช�กร 6.8 พันล้�นคน และค�ดว่�ใน พ.ศ.

            2560, 2570 2580 และ 2590 ประช�กรของโลกมีประม�ณ 7.7, 8.3, 8.9 และ 9.5 พันล้�นคนต�ม
            ลำ�ดับ หรือมีอัตร�ก�รเพิ่มประม�ณปีละ 50-60 ล้�นคน แต่อ�ห�รและพลังง�นทดแทนที่ต้องก�รม�กขึ้น
            จะผลิตในพื้นที่ก�รเกษตรขน�ดเล็กลง ดินจึงต้องมีผลิตภ�พสูง

                     2) ก�รเพิ่มของคนเมืองและก�รลดลงของแรงง�นภ�คเกษตรกรรม แต่เดิมประช�กรของโลกที่
            อยู่ในชนบทมีม�กกว่�ในเมืองเสมอ เมื่อ พ.ศ. 2550 ประช�กรในเมืองเริ่มม�กกว่�ชนบท และประช�กร

            ในชนบทมีแนวโน้มลดลงต�มลำ�ดับ  เมื่อ  พ.ศ.  2539  ประช�กรของโลกที่ทำ�ง�นในภ�คเกษตรกรรมมี


                                                                สมาคมดินและปุ๋ยแห่งประเทศไทย      37
   36   37   38   39   40   41   42   43   44   45   46