Page 37 -
P. 37

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
                                                                        คุณภาพดินเพื่อการเกษตร





                               ก�รสังเคร�ะห์แสง                     ก�รต�ย
                                                     ผู้ผลิต
                                  ก�รห�ยใจ

                                                                    ก�รต�ย
                                                    ผู้บริโภค
                    CO  ใน                                                          เศษซ�ก
                       2
                   บรรย�ก�ศ        ก�รห�ยใจ                        ก�รเน่�เปื่อย    อินทรีย์
                     และ                           ผู้ย่อยสล�ย                      (ต�ยแล้ว
                   มห�สมุทร                                                       และอยู่ในดิน)
                                  ก�รเผ�ไหม้                      ก�รเกิดฟอสซิล
                                                 เชื้อเพลิงฟอสซิล



                                  ก�รสล�ยตัว                      ก�รตกตะกอน
                                                 ค�ร์บอนในหิน



                                            ภ�พที่ 1.11  วงจรค�ร์บอน



                     วงจรของสส�รมีแบบจำ�ลองเป็นร�ยธ�ตุ เช่น ค�ร์บอน  ไนโตรเจน และกำ�มะถัน  ซึ่งศึกษ�ได้

            จ�กตำ�ร�ด้�นคว�มอุดมสมบูรณ์ของดิน สำ�หรับวงจรของค�ร์บอนแสดงไว้ในภ�พที่ 1.11 วงจรนี้ประกอบ
            ด้วยวงจรย่อยหล�ยวงจร  แต่ละวงจรย่อยใช้เวล�ต่�งกัน  บ�งวงจรย่อยเสร็จกิจกรรมภ�ยในช่วงเวล�นับ
            เป็นน�ที (เช่น ก�รสังเคร�ะห์แสงและก�รห�ยใจ) แต่บ�งวงจรย่อยใช้เวล�นับล้�นปี เช่น ก�รแปรสภ�พ

            พืชเป็นฟอสซิล จุลินทรีย์มีบทบ�ทสำ�คัญต่อกระบวนก�รต่�งๆ ในวงจรของค�ร์บอน
                     โดยธรรมช�ติ นับตั้งแต่มีพืชเจริญเติบโตในดิน ส่วนประกอบที่ไม่มีชีวิตและมีชีวิตในดินรวมทั้ง

            ร�กพืชได้พัฒน�ไปด้วยกัน  กล่�วคืออยู่ร่วมกันและมีอิทธิพลต่อกันจนมีคว�มสอดคล้อง  (synchrony)
            ในเชิงเสริมซึ่งกันและกัน  (synergy)  สภ�พดังกล่�วอุ้มชูให้สิ่งมีชีวิตต่�งๆ  อยู่ร่วมกันในดินได้เป็นอย่�งดี
            แต่เมื่อมีมนุษย์เข้�ม�เกี่ยวข้อง  ไม่ว่�จะเป็นก�รตัดต้นไม้ในป่�  ไถพรวนดิน  เลี้ยงสัตว์และปลูกพืชต่�งๆ

            กิจกรรมเหล่�นี้อ�จมีผลกระทบด้�นบวกหรือด้�นลบต่อระบบนิเวศของดินก็ได้  ในกรณีของผลกระทบ
            ด้�นลบนั้น   จะม�กหรือน้อยขึ้นอยู่กับระดับคว�มรุนแรงและคว�มบ่อยครั้งของกิจกรรมที่มนุษย์ทำ�ให้

            เกิดขึ้น ห�กมนุษย์ไม่นำ�พ�ต่อผลกระทบเหล่�นั้น และทำ�กิจกรรมที่มีผลกระทบด้�นลบอย่�งรุนแรงและ
            ต่อเนื่อง ย่อมทำ�ให้ระบบนิเวศดินถูกทำ�ล�ย แต่ถ้�มีคว�มเข้�ใจและจัดก�รถูกต้อง ก็จะเกิดผลดีต่อระบบ
            นิเวศดินและระบบนิเวศเกษตรด้วย    ดังนั้นจึงควรศึกษ�เรื่องระบบนิเวศดินให้ถ่องแท้เพื่อผลประโยชน์

            ของอนุชนรุ่นหลัง โดยทำ�คว�มเข้�ใจในส�ระสำ�คัญด้�นโครงสร้�งและกระบวนก�รในระบบนิเวศดิน เช่น
            ก�รหมุนเวียนธ�ตุอ�ห�รและนำ้� ธรรมช�ติของสิ่งมีชีวิตและบทบ�ทของสิ่งมีชีวิตในดิน






                                                                สมาคมดินและปุ๋ยแห่งประเทศไทย      33
   32   33   34   35   36   37   38   39   40   41   42