Page 36 -
P. 36
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
คุณภาพดินเพื่อการเกษตร
2) พลังง�นคว�มร้อนเกิดจ�กกระบวนก�รเมแทบอลิซึม ซึ่งสิ่งมีชีวิตต่�งๆ ใช้ในก�รทำ�ให้ร่�งก�ย
อบอุ่น และพลังง�นส่วนนี้จะถูกปลดปล่อยออกสู่บรรย�ก�ศ (ภ�พที่ 1.10) คิดเป็นปริม�ณของพลังง�นที่
ระบบนิเวศได้รับประม�ณ 90% ดังนั้นในระดับผู้บริโภคระดับบนสุด จึงเหลือพลังง�นเคมีในเนื้อเยื่อของ
สิ่งมีชีวิตนั้นๆ เพียงประม�ณ 10%
5. ก�รถ่�ยทอดสส�ร (matter flow) ในระบบนิเวศ
สส�รเข้�ม�สู่ระบบนิเวศได้ทั้งส�มสถ�นะ คือ ของแข็ง ของเหลว และก๊�ซ สส�รประเภท
ส�รประกอบเชิงชีวเคมีซึ่งพบในสิ่งมีชีวิตจะมีพลังง�นเคมีแฝงอยู่ด้วยเสมอ ก�รถ่�ยทอดส�รประกอบ
ดังกล่�วจ�กสิ่งมีชีวิตหนึ่งไปยังสิ่งมีชีวิตอื่นหรือจ�กสิ่งมีชีวิตสู่สิ่งแวดล้อม ก็มีก�รถ่�ยทอดพลังง�นควบคู่
กันไป สส�รมีก�รหมุนเวียนไปม�ระหว่�งสิ่งมีชีวิตและระหว่�งสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อมดังนี้ (Smith,
1994)
1) ส�รอนินทรีย์โมเลกุลขน�ดเล็ก เช่น CO , N และ H O จ�กสิ่งแวดล้อมถูกสิ่งมีชีวิตในกลุ่ม
2 2 2
ผู้ผลิตและจุลินทรีย์นำ�ม�ใช้ประโยชน์เพื่อสังเคร�ะห์ส�รอินทรีย์โมเลกุลใหญ่ เช่น ค�ร์โบไฮเดรต โปรตีน
และลิปิด ส�รอินทรีย์โมเลกุลใหญ่ถูกถ่�ยทอดผ่�นโซ่อ�ห�ร ในที่สุดก็กลับม�สู่สภ�พแวดล้อม แล้วถูก
ย่อยสล�ยกล�ยเป็นส�รอนินทรีย์โมเลกุลเล็กอีกครั้งหนึ่ง
2) ส�รอ�ห�รประเภทส�รอินทรีย์จำ�เป็นสำ�หรับจุลินทรีย์ ส่วนธ�ตุอ�ห�รต่�งๆ จำ�เป็นต่อก�ร
เจริญเติบโตของพืช ธ�ตุอ�ห�รซึ่งผู้ผลิตปฐมภูมิ (พืช) ต้องก�รปริม�ณม�ก เช่น ไนโตรเจน ฟอสฟอรัส
และโพแทสเซียม มักมีอยู่ในดินไม่เพียงพอสำ�หรับก�รเจริญเติบโตของพืช
สำ�หรับผู้ย่อยสล�ยมี 2 กลุ่ม คือ
1) สัตว์กินซ�ก ได้แก่ ไส้เดือนและแมลงบ�งชนิด ถึงแม้สัตว์เหล่�นี้จะย่อยเซลลูโลสและลิกนิน
ไม่ได้ แต่ช่วยกัดกินส�รอินทรีย์ให้เป็นชิ้นเล็กชิ้นน้อย ซึ่งง่�ยต่อก�รย่อยสล�ยของจุลินทรีย์ สำ�หรับยูเรีย
ในสิ่งขับถ่�ยของสัตว์เป็นประโยชน์ต่อพืชชั้นสูงและพืชกินซ�ก นอกจ�กนี้ สัตว์ยังเพิ่มก�รถ่�ยเทอ�ก�ศ
จ�กก�รขุดรูในดินโดยเฉพ�ะอย่�งยิ่งในดินบน
2) พืชกินซ�กหรือผู้ย่อยสล�ย ได้แก่ จุลินทรีย์พวกเชื้อร�และแบคทีเรียซึ่งกินเศษซ�กอินทรีย์
เป็นอ�ห�ร โดยจุลินทรีย์เหล่�นี้มีคว�มส�ม�รถพิเศษ คือ
(1) ขับเอนไซม์ออกจ�กเซลล์ เพื่อย่อยอ�ห�รภ�ยนอกเซลล์ แล้วจึงดูดซึมส�รอ�ห�รที่
ละล�ยได้เข้�ไปภ�ยหลัง
(2) ย่อยสล�ยส�รประกอบที่สล�ยตัวย�ก เช่น เซลลูโลสและลิกนิน ให้กล�ยเป็น
ค�ร์บอนไดออกไซด์และนำ้� รวมทั้งปลดปล่อยธ�ตุอ�ห�รที่เป็นองค์ประกอบออกม�ด้วย
32 สมาคมดินและปุ๋ยแห่งประเทศไทย