Page 40 -
P. 40
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
คุณภาพดินเพื่อการเกษตร
ระบบนิเวศเกษตรในประเทศกำ�ลังพัฒน�โดยทั่วไป มุ่งที่จะให้ได้ผลผลิตสูงจ�กก�รใช้ปัจจัยก�ร
ผลิต ระบบก�รผลิตจึงมีก�รใช้ปุ๋ยและส�รเคมีควบคุมศัตรูพืช ใช้พืชโตเร็วและเก็บเกี่ยวได้เร็ว และมีคว�ม
หล�กหล�ยท�งชีวภ�พด้�นชนิดพืชและสัตว์น้อย
ในระบบนิเวศเกษตรนั้น เกษตรกรมีบทบ�ทสำ�คัญในก�รจัดก�รด้�นสิ่งเข้� (input) คือ
ธ�ตุอ�ห�ร พลังง�น นำ้� และพันธุ์พืช รวมทั้งก�รเก็บเกี่ยวซึ่งเป็นสิ่งออก (output) ของระบบ
ระบบนิเวศเกษตรมีองค์ประกอบที่สำ�คัญ 3 ประก�ร คือ
1) องค์ประกอบท�งชีวภ�พ (biological component)
2) องค์ประกอบท�งก�ยภ�พ (physical component) และ
3) องค์ประกอบท�งเศรษฐกิจและสังคม (socio-economic component)
สำ�หรับเป้�หม�ยของระบบ คือ มีประสิทธิภ�พและคว�มยั่งยืน ในก�รเปลี่ยนสิ่งเข้�หรือปัจจัย
ก�รผลิตให้เป็นสิ่งออก คือผลผลิตท�งก�รเกษตรที่มีคุณค่�ท�งเศรษฐกิจดีอย่�งเหม�ะสมในระยะย�ว
หรือเป็นก�รเกษตรยั่งยืน
สภ�พยั่งยืน (sustainability) ของก�รเกษตร หม�ยถึงคว�มส�ม�รถของระบบนิเวศเกษตร ใน
ก�รรักษ�ระดับผลผลิตที่ดีไว้ตลอดเวล�ในระยะย�ว โดยกระบวนก�รผลิตดังกล่�วไม่ทำ�ให้โครงสร้�งและ
ก�รทำ�หน้�ที่ของระบบนิเวศเสื่อมลง
สำ�หรับองค์ประกอบท�งชีวภ�พของระบบนิเวศเกษตร (พืช สัตว์และจุลินทรีย์) ส�ม�รถแสดง
อันตรกิริย�ระหว่�งกันได้หล�ยลักษณะ แต่ที่สำ�คัญคืออันตรกิริย�ในก�รแข่งขันกัน (competition) และ
ภ�วะพึ่งพ�กัน (mutualism) หรือภ�วะอยู่ร่วมกัน (symbiotic) หรือทำ�ให้สภ�พคว�มสัมพันธ์ระหว่�ง
กันมีคว�มเกื้อกูล (complementary) (ดูร�ยละเอียดในบทที่ 4 ข้อ 2)
วัชพืชในระบบก�รผลิตท�งก�รเกษตรมักแสดงอันตรกิริย�กับพืชปลูกในรูปของก�รแข่งขันเพื่อ
แย่งพื้นที่ แสง นำ้�และธ�ตุอ�ห�ร อย่�งไรก็ต�มห�กมองให้กว้�งถึงระบบนิเวศเกษตรทั้งระบบ จะพบว่�
วัชพืชไม่ได้ให้เฉพ�ะโทษแก่ระบบ แต่ยังให้ประโยชน์ในบ�งด้�น เช่น คลุมพื้นที่บ�งส่วนซึ่งไม่มีพืชปลูก
และช่วยลดก�รกร่อนดิน
2. บทบ�ทของก�รเกษตร
ก�รเกษตรเป็นคว�มหวังของมนุษย์ ที่จะทำ�ให้มีอ�ห�รคุณภ�พดีในปริม�ณเพียงพอสำ�หรับ
ประช�กรที่เพิ่มขึ้นอย่�งต่อเนื่อง ด้วยระบบก�รผลิตที่คงคว�มหล�กหล�ยท�งชีวภ�พและก�รจัดก�ร
ทรัพย�กรที่ดี เพื่อเป็นพื้นฐ�นที่ทำ�ให้มนุษย์มีสุขภ�พดีและมีคว�มสุข
ก�รจัดก�รด้�นก�รเกษตรนั้น ต้องส�ม�รถเพิ่มประสิทธิภ�พของพื้นที่ก�รเกษตรในปัจจุบัน
ให้สูงขึ้น เพื่อเพิ่มปริม�ณและคุณภ�พผลผลิตจนเพียงพอต่อคว�มต้องก�รของประช�กรที่เพิ่มขึ้น โดยใช้
กระบวนก�รผลิตที่ดีและมีประสิทธิภ�พสูง และทำ�ให้มีสภ�พแวดล้อม สังคมและเศรษฐกิจที่ดีอย่�งยั่งยืน
(Anonymous, 2008; Swinton et al., 2007)
36 สมาคมดินและปุ๋ยแห่งประเทศไทย