Page 53 -
P. 53

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
                                                                        คุณภาพดินเพื่อการเกษตร





                     ระบบนิเวศเกษตรที่ดีมีลักษณะสำ�คัญ  คือ    มีชนิดของคว�มหล�กหล�ยท�งชีวภ�พที่ต้องก�ร
            เพื่อคงคว�มส�ม�รถในก�รรักษ�หรือกระตุ้น  ให้มีบริก�รของระบบนิเวศ  และยังเป็นตัวกำ�หนดวิธีก�ร

            ปฏิบัติที่เหม�ะ เพื่อทำ�ให้ระบบนิเวศเกษตรมีองค์ประกอบด้�นคว�มหล�กหล�ยที่พึงประสงค์ ภ�พที่ 2.5
            แสดงว่�มีวิธีปฏิบัติด้�นก�รเกษตรหล�ยวิธีและหล�ยแบบ  ซึ่งแต่ละแบบต่�งก็มีศักยภ�พในก�รส่งเสริม
            ในส่วนอันเป็นหน้�ที่ของคว�มหล�กหล�ยท�งชีวภ�พ  หรือทำ�ให้มีผลเชิงลบต่อระบบนิเวศเกษตร  โดยมี

            แนวคว�มคิดหลัก คือ ใช้วิธีก�รจัดก�รที่เหม�ะสมเพื่อให้บรรลุผล 2 ท�ง คือ
                     1) ส่งเสริมให้มีคว�มหล�กหล�ยท�งชีวภ�พที่ก่อให้เกิดเสถียรภ�พของระบบนิเวศเกษตร  โดย

            ให้มีบริก�รที่สำ�คัญเชิงนิเวศ เช่น ก�รควบคุมศัตรูพืชท�งชีวภ�พ
                     2) ส่งเสริมวงจรธ�ตุอ�ห�รและนำ้� รวมทั้งก�รอนุรักษ์ดิน
                 8.4 ประโยชน์ของคว�มหล�กหล�ยท�งชีวภ�พต่อระบบนิเวศดิน

                     คว�มหล�กหล�ยท�งชีวภ�พมีอิทธิพลต่อระบบนิเวศดินในด้�นผลิตภ�พดิน คว�มอุดมสมบูรณ์
            ของดินและมีผลต่อสุขภ�พของพืช เนื่องจ�กสิ่งมีชีวิตในดินมีกิจกรรม 6 ประก�รดังนี้

                     1) ย่อยสล�ยซ�กพืช และขับเคลื่อนวงจรธ�ตุอ�ห�ร
                     2) ตรึงไนโตรเจน
                     3) มีภ�วะปฏิปักษ์ต่อกัน จึงมีบทบ�ทในก�รควบคุมโรคพืช

                     4) สังเคร�ะห์เอนไซม์ วิต�มิน ฮอร์โมน ส�รคีเลตที่มีคว�มสำ�คัญต่อสิ่งมีชีวิต และ ส�รเคมีข่ม
            คู่แข่ง (allelochemicals) ซึ่งมีบทบ�ทในก�รควบคุมประช�กรและกระบวนก�รของสิ่งมีชีวิตอื่น

                     5) ทำ�ให้โครงสร้�งดินเปลี่ยนแปลง
                     6) มีอันตรกิริย�กับพืชโดยตรง    ในลักษณะภ�วะพึ่งพ�กัน  (mutualism)   ภ�วะอิงอ�ศัย
            (commensalism) ก�รแข่งขัน (competition) และก�รเกิดโรค (pathogenesis)

                     8.4.1 สมดุลของชีวช�ติกับคว�มอุดมสมบูรณ์ของดิน ก�รเพิ่มชีวช�ติอย่�งสมดุลช่วยให้คว�ม
            อุดมสมบูรณ์ของดินสูงขึ้น ดังนี้

                          1) ก�รย่อยสล�ยส�รอินทรีย์และปลดปล่อยธ�ตุอ�ห�ร เช่น ไนโตรเจน ฟอสฟอรัสและ
            กำ�มะถัน ก�รสังเคร�ะห์ฮิวมัสมีผลดีต่อดินทั้งท�งฟิสิกส์ เคมีและชีวภ�พ
                          2) ร�กพืชที่มีเชื้อร�ไมคอร์ไรซ� (mycorrhizal fungi)  อยู่ด้วยจะได้รับฟอสฟอรัสจ�ก

            ดินม�กขึ้น  จุลินทรีย์ดินหล�ยชนิดมีบทบ�ทในก�รสังเคร�ะห์ส�รคีเลต  (chelating  substance)  และ
            เกี่ยวข้องกับสภ�พออกซิเดชัน-รีดักชันของดิน   จึงมีบทบ�ทในก�รควบคุมคว�มเป็นประโยชน์ของ

            ฟอสฟอรัส แมงก�นีส เหล็ก สังกะสีและทองแดง
                          3) ก�รตรึงไนโตรเจนของจุลินทรีย์ทั้งที่ดำ�รงชีพโดยอิสระ หรืออยู่ร่วมกับพืช
                          4) ก�รสังเคร�ะห์ฮอร์โมน  ก�รปกป้องไม่ให้ร�กพืชเป็นโรค  และช่วยเพิ่มประสิทธิภ�พ

            ก�รใช้ธ�ตุอ�ห�รของพืชของแบคทีเรียที่ส่งเสริมก�รเจริญเติบโตของพืช  (plant  growth  promoting




                                                                สมาคมดินและปุ๋ยแห่งประเทศไทย      49
   48   49   50   51   52   53   54   55   56   57   58