Page 66 -
P. 66

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
          คุณภาพดินเพื่อการเกษตร




                   นอกจ�กนี้ยังมีสมบัติด้�นโครงสร้�งของระบบนิเวศเกษตรที่สมควรได้รับก�รพิจ�รณ� 10 ประก�ร คือ
                   1) คว�มถี่ของก�รปลูก (จำ�นวนครั้งของก�รปลูกต่อปี)

                   2) คว�มหล�กหล�ยของพันธุ์พืชปลูก
                   3) ลำ�ดับก�รปลูกพืชแต่ละชนิดในช่วงเวล�ที่กำ�หนด  ซึ่งรวมถึงลำ�ดับก�รปลูกพืชซึ่งเลียนแบบ

          ก�รเปลี่ยนแปลงแทนที่ในระบบนิเวศธรรมช�ติ (natural ecological successions)
                   4) รูปแบบก�รปลูกพืชร่วมกัน (inter-planting pattern)   แบบคละหรือแยกกลุ่มกระจ�ยใน
          พื้นที่ (mosaic)

                   5) คว�มถี่ คว�มสมดุลและคว�มน่�เชื่อถือในก�รเลือกใช้ส�รเคมีในก�รเกษตร
                   6) ดุลพินิจในก�รไม่ใช้ปัจจัยก�รผลิตเกินคว�มจำ�เป็น

                   7) ก�รพึ่งพ�ตนเองด้�นปัจจัยก�รผลิตและก�รตล�ด
                   8) ธรรมช�ติของสังคมที่มีบทบ�ทควบคุมกิจกรรมด้�นก�รเกษตร
                   9) ธรรมช�ติของช่องท�งเพื่อก�รกระจ�ยส�รสนเทศท�งวิช�ก�ร

                   10) ก�รใช้สิ่งมีชีวิตที่ไม่ใช่พืชปลูกในระบบนิเวศเกษตร   เช่น เชื้อร�ไมคอร์ไรซ�และจุลินทรีย์
          ตรึงไนโตรเจน

                   ตัวอย่�งเหล่�นี้ชี้ให้เห็นว่�สมบัติด้�นโครงสร้�งของระบบนิเวศเกษตรส�ม�รถปรับตัวได้  เมื่อ
          แต่ละส่วนของโครงสร้�งมีบทบ�ทร่วมกันและผูกโยงกลมกลืนเป็นสมบัติของระบบ ก็ส�ม�รถแสดงหน้�ที่
          ของระบบนิเวศเกษตรได้

               10.4 โครงสร้�งของระบบนิเวศเกษตรและคว�มส�ม�รถในก�รปรับตัว (adaptability)
                     ในระบบนิเวศเกษตรนั้น ควรจะมีอะไรบ�งอย่�งซึ่งทำ�หน้�ที่เชื่อมโยงระหว่�งสมบัติของระบบ

          นิเวศเกษตรกับก�รผลิต  จึงควรมองห�สมบัติของระบบนิเวศเกษตรอันส�ม�รถทำ�หน้�ที่  นอกเหนือจ�ก
          ส่วนซึ่งเกี่ยวข้องกับก�รผลิต  สมบัตินั้นคือคว�มส�ม�รถในก�รปรับตัว  (adaptability)  อันเป็นสมบัติ
          เชิงหน้�ที่  (functional  property)  ของระบบในก�รปรับตัวให้เข้�กับสถ�นก�รณ์  ซึ่งช่วยเชื่อมโยงและ

          เติมเต็มช่องว่�งระหว่�งโครงสร้�งและก�รผลิตของระบบนิเวศเกษตร (ภ�พที่ 2.13) คว�มส�ม�รถในก�ร
          ปรับตัวของระบบ  ทำ�ให้เกิดทั้งเสถียรภ�พและคว�มยืดหยุ่น  คือช่วยให้ระบบนิเวศเกษตรมีขีดคว�ม

          ส�ม�รถในก�รตอบสนองต่อก�รรบกวน  โดยระบบนั้นยังคงทำ�หน้�ที่ต่อไป  จนเกิดก�รผลิตได้ในระดับที่
          น่�พอใจ ในขณะเดียวกันก็ยังรักษ�ระดับคว�มส�ม�รถในก�รกระจ�ยก�รผลิต (สร้�งคว�มยุติธรรม) ได้
          ระดับหนึ่งเช่นกัน สำ�หรับเรื่องคว�มยั่งยืนภ�ยใน (internal sustainability) ของระบบนั้น ต้องประกอบ

          ด้วยคว�มส�ม�รถในก�รปรับตัวด้วย เพร�ะคว�มส�ม�รถดังกล่�วมีคว�มสำ�คัญ 2 ประก�ร คือ
                   1) ช่วยยับยั้งหรือหยุดคว�มเสียห�ยจ�กผลกระทบใดๆ ที่มีต่อทรัพย�กรสำ�คัญที่ใช้ในก�รผลิต

          เช่น ดิน
                   2) ก�รที่ระบบนิเวศเกษตรส�ม�รถปรับตัวได้  ย่อมตอบสนองต่อปัจจัยที่ส่งเสริมและทำ�ให้ก�ร
          ผลิตดีขึ้นด้วย



       62        สมาคมดินและปุ๋ยแห่งประเทศไทย
   61   62   63   64   65   66   67   68   69   70   71