Page 71 -
P. 71

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
                                                                        คุณภาพดินเพื่อการเกษตร





            12. มนุษย์กับคว�มยั่งยืนของระบบนิเวศเกษตร
                     เนื่องจ�กมนุษย์มีบทบ�ทควบคุมระบบนิเวศเกษตร  จึงต้องให้คว�มสนใจในด้�นคว�มยั่งยืน

            ของก�รผลิตอ�ห�รและก�รได้รับบริก�รต่�งๆ  จ�กดินหรือระบบนิเวศดิน  โดยไม่ทำ�ให้เสถียรภ�พหรือ
            คว�มยืดหยุ่นของระบบนิเวศเกษตรต้องได้รับคว�มเสียห�ย  อย่�งไรก็ต�ม  ก�รพิจ�รณ�เรื่องนี้ควรให้
            คว�มสำ�คัญในด้�นประช�กรมนุษย์ที่มีต่อสุขภ�พของระบบนิเวศด้วย  ทั้งนี้เนื่องจ�กก�รไหลหรือเคลื่อน

            ย้�ยของอ�ห�รและบริก�รจ�กระบบนิเวศเกษตร จะถูกกำ�หนดโดยจำ�นวนประช�กรที่มีอยู่ รวมทั้งอัตร�
            ก�รบริโภคทรัพย�กรของมนุษย์  (ซึ่งมักสิ้นเปลืองจ�กก�รบริโภคของกลุ่มคนที่มั่งคั่งหรือมีกำ�ลังซื้อสูง)

            สำ�หรับคว�มส�ม�รถในก�รรองรับคว�มต้องก�รของมนุษย์จ�กระบบนิเวศเกษตร  พิจ�รณ�ได้จ�กข้อมูล
            เกี่ยวกับปริม�ณสูงสุดของบริก�รที่ระบบนิเวศจะให้ได้  โดยไม่ทำ�ให้คุณภ�พดินและสุขภ�พระบบนิเวศ
            เสื่อมลง (Bohlen and House, 2009; Gliessman, 2001; Swinton et al., 2007)

                 12.1 นิเวศบริก�ร
                      บริก�รของระบบนิเวศหรือนิเวศบริก�ร  (ecosystem  services)  คือ  ผลประโยชน์ทั้งปวงที่

            สิ่งมีชีวิตได้รับจ�กทรัพย�กร (resources) และกระบวนก�ร (processes) ของระบบนิเวศ บริก�รเหล่�นี้
            ได้แก่ อ�ห�ร นำ้�ดื่มและก�รกำ�จัดของเสีย อ�จแบ่งบริก�รของระบบนิเวศออกเป็น 4 ประเภท คือ
                      1) บริก�รให้สส�ร (provisioning service) เช่น อ�ห�รและนำ้�

                      2)  บริก�รด้�นก�รควบคุม (regulating service) เช่น ก�รควบคุมภูมิอ�ก�ศจุลภ�ค (microclimate)
            และก�รควบคุมโรคพืช

                      3) บริก�รเชิงสนับสนุน (supporting service)  เช่น ก�รหมุนเวียนธ�ตุอ�ห�ร และก�รถ่�ย
            เรณู (pollination) ของพืชปลูก
                      4) บริก�รด้�นวัฒนธรรม (cultural service) คือ ประโยชน์ที่ได้ด้�นจิตวิญญ�ณ (spiritual)

            และนันทน�ก�ร (recreation)
                      คว�มส�ม�รถในก�รรองรับ  (carrying  capacity)  ชนิดและจำ�นวนของสิ่งมีชีวิตในสภ�พแวดล้อม

            หนึ่ง  คือขน�ดประช�กรสูงสุดของสิ่งมีชีวิตชนิดนั้นที่สิ่งแวดล้อมส�ม�รถรองรับให้อยู่ได้โดยไม่จำ�กัดเวล�
            ด้วยก�รให้อ�ห�ร  นำ้�  ที่อยู่และสิ่งจำ�เป็นอื่นๆ  อย่�งเพียงพอ  เมื่อพิจ�รณ�ในแง่ของมนุษย์นั้น  คว�ม
            ส�ม�รถในก�รรองรับคว�มต้องก�รของมนุษย์จ�กระบบนิเวศ  ยังต้องรวมส่วนที่เกี่ยวข้องกับสุขอน�มัย

            ของมนุษย์เข้�ไปด้วย  จึงสรุปได้ว่�  คว�มส�ม�รถในก�รรองรับของระบบนิเวศ  คือ  จำ�นวนสิ่งมีชีวิตซึ่ง
            สภ�พแวดล้อมส�ม�รถอุ้มชูได้โดยไม่มีผลกระทบด้�นลบทั้งต่อสิ่งมีชีวิตนั้นและสภ�พแวดล้อมอันเป็นที่

            อ�ศัย  เมื่อใดมีจำ�นวนตำ่�กว่�คว�มส�ม�รถในก�รรองรับประช�กรจะเพิ่มขึ้น  แต่ถ้�สูงกว่�คว�มส�ม�รถ
            ในก�รรองรับประช�กรจะลดลง ปัจจัยที่กำ�กับให้ขน�ดประช�กรอยู่ในภ�วะสมดุลเรียกว่� ปัจจัยควบคุม
            (regulating  factor)  ก�รที่ประช�กรลดลงเมื่อมีจำ�นวนเกินคว�มส�ม�รถในก�รรองรับ  เนื่องจ�กพื้นที่

            อ�ห�รหรือแสงแดดไม่เพียงพอ  แต่แนวโน้มก�รลดลงของประช�กรจะเป็นอย่�งไร  ยังขึ้นอยู่กับชนิดของ




                                                                สมาคมดินและปุ๋ยแห่งประเทศไทย      67
   66   67   68   69   70   71   72   73   74   75   76