Page 73 -
P. 73

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
                                                                        คุณภาพดินเพื่อการเกษตร




            คว�มยืดหยุ่นของระบบนิเวศได้แก่ วัฏจักรของนำ้� คว�มอุดมสมบูรณ์ คว�มหล�กหล�ยท�งชีวภ�พ คว�ม
            หล�กหล�ยของพืชและภูมิอ�ก�ศ  ซึ่งมีอันตรกิริย�ต่อกัน  และผลของอันตรกิริย�เหล่�นั้น  เกี่ยวข้องกับ

            คว�มยืดหยุ่น เสถียรภ�พ และคว�มยั่งยืนของระบบนิเวศ
                      กิจกรรมของมนุษย์ด้�นก�รเกษตรมีอิทธิพลต่อคว�มยืดหยุ่นของระบบนิเวศเกษตรอย่�ง

            ชัดเจน  โดยเฉพ�ะอย่�งยิ่งเรื่องอินทรียวัตถุในดิน  เนื่องจ�กอินทรียวัตถุม�จ�กเศษซ�กพืชน�น�ชนิด
            และโดยธรรมช�ติอินทรียวัตถุเป็นแหล่งสำ�คัญของค�ร์บอนและพลังง�นของจุลินทรีย์   เป็นแหล่งของ
            ไนโตรเจนและธ�ตุอ�ห�รอื่นๆ  สำ�หรับก�รเจริญเติบโตของพืช  อย่�งไรก็ต�ม  ในระบบก�รเกษตรแบบ

            ประณีต  (intensive  agriculture)  เพื่อมุ่งสู่ก�รผลิตอ�ห�รปริม�ณม�ก  ได้ควบคุมวัชพืชและลดคว�ม
            หล�กหล�ยของชนิดพืชในพื้นที่เพ�ะปลูก  นำ�เศษซ�กพืชออกจ�กแปลงเพื่อใช้สอยในกิจกรรมอื่น  ทำ�ให้

            มีซ�กพืชคืนสู่ดินน้อยลง  ประกอบกับก�รไถพรวนและก�รให้นำ้�ช่วยเร่งก�รสล�ยของส�รอินทรีย์  ทำ�ให้
            อินทรียวัตถุในดินตำ่� ไม่มีเศษซ�กพืชคลุมผิวดิน คว�มอุดมสมบูรณ์ของดินจึงลดลง รวมทั้งมีคว�มเปร�ะ
            บ�งต่อก�รกระทบ เช่น ก�รกร่อนดิน จึงเป็นปัจจัยหนึ่งที่ทำ�ให้มีคว�มยืดหยุ่นของระบบนิเวศตำ่�ลง ดังนั้น

            ก�รตรวจสอบหรือประเมินสมดุลของอินทรียวัตถุในดินจึงเป็นม�ตรก�รหนึ่งที่สำ�คัญ
                 12.3 บทบ�ทของมนุษย์

                      เมื่อพิจ�รณ�จ�กข้อมูลต่�งๆ  แล้วเห็นได้ว่�  นักวิทย�ศ�สตร์ยังมีคว�มเข้�ใจน้อยใน  2  เรื่อง
            ต่อไปนี้ คือ
                      1) อันตรกิริย�ระหว่�งองค์ประกอบต่�งๆของระบบนิเวศ

                      2) ศักยภ�พของพลวัตอันยุ่งเหยิงของอันตรกิริย�เหล่�นั้น
                      จึงเป็นก�รย�กที่จะมีชุดตัวชี้วัดที่เชื่อถือได้ เพื่อนำ�ม�ใช้ประเมินสุขภ�พของระบบนิเวศเกษตร

            หรือคุณภ�พดินให้ได้ผลถูกต้องแม่นยำ�   ประกอบกับมนุษย์ตั้งแต่ยุคก่อนประวัติศ�สตร์เรื่อยม�จนถึง
            ปัจจุบัน ได้รบกวนสิ่งแวดล้อมธรรมช�ติแล้วเปลี่ยนม�เป็นระบบนิเวศเกษตรอย่�งต่อเนื่อง จนดูเหมือนว่�
            แทบจะไม่มีระบบนิเวศใดปลอดจ�กก�รรบกวนของมนุษย์ไปได้ จึงไม่มีจุดม�ตรฐ�นเปรียบเทียบเชิงนิเวศ

            (ecological benchmark) หลงเหลืออีกแล้ว ดังนั้นก�รจัดก�รระบบนิเวศเกษตรที่ถือว่�ประสบผลสำ�เร็จ
            ก็คือ

                      1) จัดก�รให้ได้ผลผลิตสูงและยั่งยืน
                      2) ห�กมีคว�มแปรปรวนด้�นผลผลิตและทำ�ให้ลดลงเหลือตำ่�ว่�ระดับก็เคยได้   ก็มีม�ตรก�ร
            ควบคุมหรือแก้ไขที่ได้ผล  แต่ก็คงหนีไม่พ้นที่จะต้องมีก�รเปลี่ยนแปลงบ�งประก�รซึ่งค�ดไม่ถึง  อันจะ

            ย้อนม�กระทบต่อผลผลิตด้�นก�รเกษตรไม่ท�งใดก็ท�งหนึ่ง
                      อย่�งไรก็ต�ม มีสิ่งสำ�คัญประก�รหนึ่งที่ควรตระหนักก็คือคว�มเข้�ใจเรื่องอันตรกิริย�ระหว่�ง

            ทุกองค์ประกอบของระบบนิเวศ  เพร�ะจะช่วยให้มนุษย์หยั่งรู้ถึงแก่นแท้ว่�  สิ่งที่ถูกต้องและควรทำ�  คือ
            มนุษย์แสดงบทบ�ทร่วมกันกับสิ่งมีชีวิตอื่นภ�ยในระบบนิเวศ  แทนที่จะยืนอยู่ภ�ยนอกแล้วทำ�หน้�ที่เป็น
            ผู้ควบคุมให้ระบบนิเวศเป็นไปต�มชอบใจ



                                                                สมาคมดินและปุ๋ยแห่งประเทศไทย      69
   68   69   70   71   72   73   74   75   76   77   78