Page 68 -
P. 68

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
          คุณภาพดินเพื่อการเกษตร






                                                                    จุดอ้�งอิง


                            สภ�พก�รทำ�หน้�ที่ของ

                              ระบบนิเวศเกษตร                  เปรียบเทียบกับจุดอ้�งอิง



                                                               เลือกชุดของม�ตรก�ร
                                 ดำ�เนินก�ร
                                                               ที่เหม�ะสมม�ใช้แก้ไข



               ภ�พที่ 2.14  หน่วยคว�มรู้พื้นฐ�น (basic elements) ที่ใช้ในวงจรผลป้อนกลับ (feedback loop)
                                    เพื่อปรับปรุงก�รออกแบบระบบนิเวศเกษตร



                   สำ�หรับวงจรผลป้อนกลับเพื่อก�รปรับแก้ จะทำ�ง�นได้ผลดีก็ต่อเมื่อ
                   1) ระบบแสดงผลตอบสนองด้วยดีต่อม�ตรก�รที่ใช้ในก�รแก้ไข  2) ควรมีม�ตรก�รแก้ไขแบบ

          ต่�งๆ ไว้ให้เลือกเมื่อมีสถ�นก�รณ์ต่�งๆ กัน
                   นอกจ�กนี้ก�รที่ระบบมีลักษณะก�รตอบสนองได้หล�ยแบบ  ก็เป็นส่วนหนึ่งของคว�มส�ม�รถ

          ในก�รปรับตัวของระบบด้วย เช่น ในดินที่มีอินทรียวัตถุตำ่�อ�จแก้ไขโดยก�รใช้เศษซ�กพืชหรือปุ๋ยคอกใส่
          ในดิน  ซึ่งทำ�ได้เฉพ�ะในบริเวณซึ่งมีวัสดุดังกล่�วม�ก  หรือในพื้นที่ซึ่งไม่มีก�รเลี้ยงสัตว์อ�จต้องใช้วิธีปลูก
          พืชเพื่อเป็นปุ๋ยพืชสดร่วมกับก�รจัดก�รซ�กพืชก็ได้ผลคล้�ยกัน ก�รใช้พันธุ์พืชปลูกที่ทนแล้งมีคว�มสำ�คัญ

          สำ�หรับพื้นที่ดอนและมีก�รกระจ�ยของฝนไม่ดีนัก   แต่ก็ต้องคำ�นึงถึงพันธุ์พืชปลูกพืชซึ่งเป็นที่ต้องก�ร
          ของตล�ดด้วย  เพื่อช่วยให้เกิดเสถียรภ�พด้�นร�ยได้  นอกจ�กนี้ก�รเลือกระบบก�รปลูกพืช  (cropping

          systems) ม�ใช้จำ�เป็นต้องเลือกชนิดพืชในระบบที่เข้�กันได้ดี หรือทำ�หน้�ที่ด้วยกันอย่�งเหม�ะสม ก�ร
          เลือกใช้พันธุ์พืชที่ทนต่อศัตรูพืชและสภ�พแวดล้อมเป็นอีกแนวท�งหนึ่งที่น่�สนใจ อย่�งไรก็ต�มพืชแต่ละ
          ชนิดก็มีทั้งจุดแข็ง (strength) และจุดอ่อน (weakness) ก�รนำ�ม�จัดเป็นระบบก�รปลูกพืชในลักษณะที่

          เหม�ะสมกับสภ�พพื้นที่ ฤดูก�ลปลูก และสภ�พด้�นนิเวศ (ecological feature) ของที่ใดที่หนึ่งเท่�นั้น
          จึงจะช่วยสร้�งเสถียรภ�พก�รผลิตของระบบนิเวศเกษตร ดังนี้

                     1) คว�มหล�กหล�ยของพืชปลูก (crop diversity) ช่วยเพิ่มผลิตภ�พด้�นโภชน�ก�ร กล่�วคือ
          บ�งพืชให้ผลผลิตสูงและผลิตได้ปริม�ณม�ก เช่น พืชที่ให้แป้งและโปรตีน แต่บ�งพืชแม้จะได้ผลผลิตน้อย
          แต่อุดมด้วยส�รอ�ห�รที่สำ�คัญ เช่น วิต�มินเอ วิต�มินซี ธ�ตุแคลเซียมและธ�ตุเหล็ก เพื่อคว�มสมดุลด้�น

          โภชน�ก�ร
                   2) ก�รปลูกพืชบ�งชนิดร่วมกันอย่�งเหม�ะสม จะมีก�รสร้�งกลไกของวงจรป้อนกลับ (feedback

          mechanisms) ซึ่งส่งผลให้ก�รทำ�ล�ยของศัตรูพืชลดลง



       64        สมาคมดินและปุ๋ยแห่งประเทศไทย
   63   64   65   66   67   68   69   70   71   72   73