Page 67 -
P. 67
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
คุณภาพดินเพื่อการเกษตร
สำ�หรับตัวอย่�งที่กล่�วต่อไป จะแสดงให้เห็นถึงสมบัติด้�นโครงสร้�งของระบบนิเวศเกษตรที่
จำ�เป็นสำ�หรับก�รปรับตัวของระบบนี้
โครงสร้�งของระบบนิเวศเกษตร หน้�ที่ของระบบนิเวศเกษตร
วงจรผลป้อนกลับเพื่อก�รปรับแก้
คว�มหล�กหล�ยภ�ยในระบบ คว�มส�ม�รถในก�รปรับตัว
ก�รปรับตัวขององค์ประกอบภ�ยใน คว�มส�ม�รถในก�รผลิต
ภ�พที่ 2.13 ตัวอย่�งของก�รเชื่อมโยงเชิงเหตุผลระหว่�งสมบัติของโครงสร้�งระบบนิเวศเกษตร
กับคว�มสภ�พก�รปรับตัวได้ของระบบก�รผลิตด้�นก�รเกษตร
คว�มส�ม�รถในก�รปรับตัวของระบบนิเวศเกษตร เกิดจ�กสมบัติด้�นโครงสร้�งหล�ยประก�ร
แต่ที่เป็นแกนกล�ง คือ “วงจรผลป้อนกลับเพื่อก�รปรับแก้ (corrective feedback loop)” ในภ�พ
ที่ 2.14 ซึ่งเป็นกลไกที่ช่วยให้ระบบกลับคืนจ�กภ�วะผันผวนสู่สภ�พเดิม แล้วทำ�หน้�ที่ได้อีกครั้งหนึ่ง
ยกตัวอย่�งเช่น เมื่อระดับคว�มอุดมสมบูรณ์ของดินตำ่�ลง เนื่องจ�กอินทรียวัตถุตำ่�หรือมีก�รกร่อนของ
หน้�ดิน เกษตรกรก็แก้ไขสถ�นก�รณ์อย่�งเป็นระบบ โดยก�รใส่เศษซ�กพืชหรือปลูกพืชคลุมดินเพื่อ
ปกป้องผิวดินและลดก�รกร่อน ขณะเดียวกันก็ใส่ปุ๋ยอินทรีย์เพื่อเพิ่มอินทรียวัตถุในดินด้วย ผลที่ได้รับ
คือสมบัติของดินท�งเคมี ฟิสิกส์และชีวภ�พได้รับก�รปรับปรุง ผลิตภ�พดินจึงค่อยๆ สูงขึ้น ซึ่งวัดได้จ�ก
ผลผลิตพืชที่ดีขึ้น สำ�หรับก�รป้อนกลับเพื่อก�รปรับแก้ระบบ (corrective feedback) ต้องก�รหน่วย
โครงสร้�งที่สำ�คัญ 4 ประก�รดังภ�พที่ 2.14 คือ
1) จุดอ้�งอิง (point of reference) ซึ่งแสดงถึงสภ�พและก�รทำ�หน้�ที่ของระบบนิเวศเกษตร
(เช่น ช่วงของระดับคว�มอุดมสมบูรณ์ที่เหม�ะสม หรือระดับผลผลิตที่จัดว่�ดี)
2) ก�รวัดค่�ที่แสดงว่�ระบบนิเวศเกษตรทำ�หน้�ที่ได้ดีเพียงใด (เช่น ก�รประเมินคว�มอุดม
สมบูรณ์ของดิน หรือก�รวัดผลผลิตพืช)
3) ก�รเปรียบเทียบผลก�รวัดกับจุดอ้�งอิง
4) ชุดของม�ตรก�รที่ใช้ดำ�เนินก�รปรับปรุงแก้ไข
สมาคมดินและปุ๋ยแห่งประเทศไทย 63