Page 69 -
P. 69
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
คุณภาพดินเพื่อการเกษตร
3) ระบบก�รปลูกพืชซึ่งพืชแต่ละชนิดทำ�หน้�ที่แตกต่�งกันและเสริมซึ่งกันและกัน เช่น พืช
ตระกูลถั่วมีก�รตรึงไนโตรเจนจึงช่วยเพิ่มธ�ตุนี้ในวงจรธ�ตุอ�ห�ร พืชบ�งชนิดมีมวลชีวภ�พม�กจึงช่วย
เพิ่มส�รอินทรีย์ในดิน หรือมีคว�มส�ม�รถปกคลุมดินเพื่อลดก�รกร่อนดิน ซึ่งแต่ละหน้�ที่ต่�งมีคว�ม
สำ�คัญต่อก�รผลิตของระบบนิเวศเกษตร
11. ระบบนิเวศธรรมช�ติกับระบบนิเวศเกษตร
จุดม�ตรฐ�นเปรียบเทียบ (benchmark) ที่ใช้กันอย่�งกว้�งขว�ง ในก�รประเมินคุณภ�พดิน
เพื่อก�รเกษตร คือ ดินในสภ�พธรรมช�ติหรือดินในระบบนิเวศที่ไม่ถูกรบกวน ซึ่งอยู่ในพื้นที่ใกล้เคียงกัน
หรือกำ�เนิดม�จ�กวัตถุต้นกำ�เนิดแบบเดียวกัน อยู่ในภูมิเทศและมีภูมิอ�ก�ศคล้�ยกันด้วย คว�มแตกต่�ง
ระหว่�งระบบนิเวศเกษตรกับระบบนิเวศธรรมช�ติแสดงไว้ในต�ร�งที่ 2.5 สำ�หรับผู้สนับสนุนให้ทำ�ก�ร
เกษตรเชิงนิเวศ (ecological agriculture) แนะนำ�ว่�ระบบธรรมช�ติในแต่ละพื้นที่เป็นโครงสร้�งแบบ
จำ�ลอง (structural model) ที่เหม�ะสมสำ�หรับระบบนิเวศเกษตร ส่วนระบบนิเวศธรรมช�ตินั้นบ�งกรณี
ถือว่�ได้เข้�สู่สภ�พกึ่งสมดุล (quasi-equilibrium) อันเป็นสภ�พซึ่งปริม�ณผลผลิตที่เพิ่มขึ้นเท่�กับก�ร
สูญเสียอันเกิดจ�กก�รห�ยใจของระบบนิเวศ
สำ�หรับก�รเกษตรเชิงพ�ณิชย์หรืออุตส�หกรรม (commercial or industrial agriculture)
มีแนวโน้มที่จะใช้สิ่งเข้�ชนิดพลังง�นสูง (high energy input) เพื่อรักษ�เสถียรภ�พของระบบแทนที่
จะอ�ศัยอันตรกิริย�ระหว่�งองค์ประกอบและกระบวนก�ร เพื่อให้มีเสถียรภ�พดังที่เกิดกับระบบนิเวศ
ธรรมช�ติ แต่ก�รใส่สิ่งเข้�ชนิดพลังง�นสูง ก็ทำ�ให้เสี่ยงต่อก�รเกิดภ�วะอันไม่พึงประสงค์บ�งประก�ร
เช่น ภ�วะมลพิษ ก�รเพิ่มคว�มต้�นท�นของศัตรูพืชและก�รกร่อนดิน ในด้�นวัฏจักรไนโตรเจนของโลก
(global N cycle) นั้น ปริม�ณปุ๋ยไนโตรเจนซึ่งส่วนใหญ่ผลิตได้จ�กอุตส�หกรรม และนำ�ไปใส่ในดิน
สูงกว่�ปริม�ณที่ตรึงได้โดยระบบนิเวศธรรมช�ติม�ก
ในปัจจุบันมนุษย์แผ่อิทธิพลไปไกลทั่วระบบนิเวศ จึงเป็นอุปสรรคในก�รประเมินคุณภ�พดิน
และสุขภ�พระบบนิเวศอยู่บ้�ง เนื่องจ�กไม่มีระบบนิเวศธรรมช�ติให้ใช้เป็นจุดเทียบหรืออ้�งอิงม�ตรฐ�น
(benchmark) ม�กนัก เหตุก�รณ์ในอดีตเช่นก�รเผ�ป่�ของมนุษย์ในยุคก่อนประวัติศ�สตร์ยังมีอิทธิพลต่อ
รูปร่�งของระบบนิเวศจนถึงปัจจุบัน ก�รจัดก�ร (บ่อยครั้งโดยไม่ตั้งใจ) บริเวณซึ่งเรียกว่� “พื้นที่ธรรมช�ติ
(natural area)” เช่น ก�รรุกลำ้�ของมนุษย์เข้�ไปในวนอุทย�น เป็นก�รลดพื้นที่ของระบบนิเวศที่มนุษย์
มีอิทธิพลน้อยอีกด้วย ข้อสังเกตเหล่�นี้ชี้ให้เห็นว่�โดยข้อเท็จจริงแล้ว มนุษย์เป็นส่วนหนึ่งของระบบนิเวศ
และยุทธศ�สตร์เพื่อก�รจัดก�รที่จะนำ�ไปสู่คว�มสำ�เร็จ ไม่ควรจะมองข้�มคว�มสำ�คัญในค่�นิยมของ
มนุษย์ (human values) และอันตรกิริย�ระหว่�งมนุษย์กับองค์ประกอบอื่นๆ ของระบบนิเวศ (Janssen,
1999; van Noordwijk, 1999)
สมาคมดินและปุ๋ยแห่งประเทศไทย 65