Page 65 -
P. 65
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
คุณภาพดินเพื่อการเกษตร
สำ�หรับเสถียรภ�พนั้นเกี่ยวข้องกับคว�มผันผวนต�มปรกติ และส�ม�รถทนต่อสภ�พคว�ม
แปรปรวนนั้นได้ แต่คว�มยืดหยุ่นเกี่ยวข้องกับก�รกระทบเป็นครั้งคร�วแต่มีระดับคว�มรุนแรงสูง จึงอยู่ใน
สภ�พที่จะทนได้และคงอยู่ต่อไปหรือไม่ ซึ่งตรงกับหลักเศรษฐกิจพอเพียงของพระบ�ทสมเด็จพระเจ้�อยู่หัว
ในเรื่องภูมิคุ้มกัน ดังนั้นระบบนิเวศเกษตรที่มีคว�มยืดหยุ่นสูงจะส�ม�รถปรับตัวและคงอยู่ต่อไป ด้วยเหตุนี้
ระบบนิเวศเกษตรหนึ่งอ�จเข้มแข็งในส่วนของคว�มยั่งยืนภ�ยใน (internal sustainability) แต่มีคว�ม
ยืดหยุ่นตำ่� หรืออ�จมีสภ�พตรงกันข้�มก็ได้ แต่จะเป็นระบบที่ดีม�กถ้�ทั้งคว�มยั่งยืนภ�ยในและคว�ม
ยืดหยุ่นสูง
10.3 สมบัติของโครงสร้�งระบบนิเวศเกษตร
ดังได้กล่�วแล้วว่�โครงสร้�งระบบนิเวศเกษตร ประกอบด้วยพืชปลูกน�น�ชนิดและส่วนอื่นๆ
ของระบบ (เช่น วัชพืช ศัตรูพืชและสัตว์ สิ่งมีชีวิตในดิน และจุลินทรีย์ดิน เป็นต้น) โดยแนวท�งที่สิ่งเหล่�นี้
รวมกันและมีคว�มสัมพันธ์กันในโครงสร้�งของระบบนิเวศเกษตร รวมทั้งจ�กผลของก�รจัดก�รฟ�ร์ม จะ
เกี่ยวข้องโดยตรงกับก�รทำ�หน้�ที่ขององค์ประกอบนั้นๆ สำ�หรับคว�มสัมพันธ์ระหว่�งโครงสร้�งระบบ
นิเวศเกษตรกับก�รทำ�หน้�ที่แสดงไว้ในต�ร�งที่ 2.4
ต�ร�งที่ 2.4 คว�มสัมพันธ์ระหว่�งโครงสร้�งระบบนิเวศเกษตรกับก�รทำ�หน้�ที่ของระบบนิเวศเกษตร
โครงสร้�งระบบนิเวศเกษตร หน้�ที่ของระบบนิเวศเกษตร
ก�รปลูกพืชแซม (intercropping) คว�มหล�กหล�ยของผลผลิตและโภชน�ก�รมนุษย์
ก�รปลูกพืชแซม (intercropping) ลดคว�มเสียห�ยจ�กศัตรูพืช
ก�รปลูกพืชล้มลุก/พืชยืนต้น/พืชหมุนเวียน ก�รหมุนเวียนธ�ตุอ�ห�ร
ก�รปลูกพืชล้มลุก/พืชยืนต้นร่วมกันเป็นแถบ ลดก�รกร่อนดิน มีก�รแข่งขันระหว่�งพืชล้มลุก
บนพื้นที่ล�ดชัน และพืชยืนต้น
ก�รปลูกพืชหมุนเวียน ลดคว�มเสื่อมโทรมด้�นธ�ตุอ�ห�รในดิน
ก�รปลูกพืชร่วมกับก�รเลี้ยงปศุสัตว์ คว�มหล�กหล�ยของผลผลิตและรักษ�คว�มอุดม
สมบูรณ์ของดิน
ก�รติดต่อสื่อส�รระหว่�งเกษตรกรหัวก้�วหน้� เพิ่มก�รกระจ�ยเทคโนโลยีก�รเกษตรแผนใหม่
ก�รก่อตั้งเป็นกลุ่มผู้ใช้นำ้�ชลประท�น ผลประโยชน์จ�กก�รใช้นำ้�ของเกษตรกรกลุ่มเล็ก
สมาคมดินและปุ๋ยแห่งประเทศไทย 61