Page 72 -
P. 72

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
          คุณภาพดินเพื่อการเกษตร




          สิ่งมีชีวิตที่อยู่ในสิ่งแวดล้อมนั้น  อย่�งไรก็ต�ม  คว�มส�ม�รถในก�รรองรับของสภ�พแวดล้อมหนึ่งอ�จ
          ผันแปรได้ต�มชนิดของสิ่งมีชีวิตที่เข้�ไปอ�ศัย  และอ�จมีก�รเปลี่ยนแปลงในช่วงเวล�หนึ่งๆ  ทั้งนี้ขึ้นอยู่

          กับเหตุปัจจัยในช่วงเวล�นั้นๆ เช่น ปริม�ณอ�ห�รและนำ้�ที่มีให้ใช้ได้ ตลอดจนสภ�พแวดล้อมและขน�ด
          ของพื้นที่อ�ศัย

                    ในสภ�พปัจจุบันนั้น  ห�กมองโลกในแง่ดี  (optimistic)  เชื่อว่�ก�รใช้เทคโนโลยีด้�นปัจจัย
          ก�รผลิตอย่�งเพียงพอ  จะช่วยเพิ่มก�รผลิตอ�ห�รเพื่อเลี้ยงประช�กรของโลกได้  แต่ยังเป็นที่สงสัย  (เมื่อ
          มองในแง่ร้�ย  หรือ  pessimistic)  ว่�ก�รเพิ่มดังกล่�วจะไม่ส่งผลกระทบรุนแรงต่อสิ่งแวดล้อมได้อย่�งไร

          (เช่น  ก�รสูญพันธุ์ของสิ่งมีชีวิตบ�งชนิด  หรือก�รสูญเสียบริก�รอื่นที่มิใช่อ�ห�ร  (non-food  services)
          จ�กระบบนิเวศ ผลกระทบที่อ�จเกิดขึ้นดังกล่�วทำ�ให้คุณภ�พชีวิตมนุษย์และสิ่งมีชีวิตอื่นๆ เลวลงไป ก�ร

          ที่มนุษย์ยังคงได้รับบริก�รจ�กระบบนิเวศอย่�งดีและมีประสิทธิภ�พนั้น  จำ�เป็นต้องอ�ศัยคว�มก้�วหน้�
          ของเทคโนโลยี  เข้�ม�ดูแลแก้ไขคว�มเสื่อมของสภ�พแวดล้อม  อย่�งไรก็ต�มก�รที่มนุษย์อยู่ได้ด้วยก�ร
          พึ่งพ�บริก�รสำ�หรับเลี้ยงชีวิต (life-support services) จ�กระบบนิเวศอย่�งข�ดเสียมิได้ แสดงว่�ระดับ

          สติปัญญ�ของมนุษย์และเทคโนโลยีที่คิดค้นม�ได้ในปัจจุบัน ไม่เพียงพอที่จะทดแทนขุมทรัพย์ในธรรมช�ติ
          (natural  capital)  ได้  จึงต้องตระหนักว่�คว�มก้�วหน้�ด้�นเทคโนโลยีที่นำ�ม�ใช้ในก�รผลิตอ�ห�รนั้น

          ต้องนำ�ม�ใช้อย่�งผสมผส�น  และทำ�ง�นร่วมกันอย่�งสอดคล้องกับกระบวนก�รของระบบนิเวศ  แทนที่
          จะนำ�ม�ใช้เพื่อทดแทนกระบวนก�รของระบบนิเวศ  นอกจ�กนี้ยังต้องเข้�ใจด้วยว่�คว�มส�ม�รถในก�ร
          รองรับคว�มต้องก�รของมนุษย์จ�กระบบนิเวศเกษตรนั้น     อยู่ภ�ยใต้อิทธิพลของสภ�พแวดล้อมและ

          นวัตกรรมของมนุษย์ (human innovation)
                    จ�กเหตุผลที่กล่�วม�แล้วจึงเห็นว่�  คว�มยืดหยุ่นของระบบนิเวศ  (ecological  resilience)

          น่�จะเป็นดรรชนีสำ�หรับคว�มยั่งยืนของระบบนิเวศ  ได้ดีกว่�ดรรชนีที่เกี่ยวข้องกับคว�มส�ม�รถในก�ร
          รองรับ (carrying capacity) ซึ่งบ�งกรณีอ�จไม่ค่อยมีคว�มแน่นอนนัก
               12.2 คว�มยืดหยุ่นของระบบนิเวศ

                    สำ�หรับคว�มยืดหยุ่นของระบบนิเวศ  คือ  เสถียรภ�พและคว�มส�ม�รถของระบบนิเวศ  ที่จะ
          ทนท�น (tolerate) หรือต้�นท�น (withstand) ต่อก�รกระทบและส�ม�รถซ่อมแซมคว�มชำ�รุดเสียห�ย

          ให้กลับคืนได้ด้วยตัวเอง  (restoring  itself)    หรือ  คว�มส�ม�รถของระบบนิเวศในก�รต้�นท�นต่อก�ร
          กระทบ สิ่งที่กระทบได้แก่ ไฟป่� นำ้�ท่วม พ�ยุ ก�รระบ�ดของแมลง กิจกรรมของมนุษย์ เช่น ก�รโค่นต้นไม้
          และก�รนำ�เข้�ชนิดพืชและสัตว์ต่�งถิ่น  ห�กก�รกระทบมีระดับคว�มรุนแรงม�ก  หรือเกิดติดต่อกันน�น

          จะเกิดผลกระทบต่อระบบนิเวศอย่�งหนัก และบีบบังคับระบบนิเวศให้กลับสู่ขีดเริ่มเปลี่ยน (threshold)
          อีกครั้งหนึ่ง แล้วเริ่มก�รปรับตัวทั้งในเชิงกระบวนก�รและโครงสร้�งของระบบนิเวศ ซึ่งจะฟื้นคืนสู่สภ�พ

          เดิมได้หรือไม่  หรือต้องใช้เวล�ในก�รคืนสภ�พน�นเพียงใด  ขึ้นอยู่กับขีดคว�มยืดหยุ่นของระบบนิเวศ
          ขน�ดของแรงกระทบและคว�มย�วน�นของก�รกระทบนั้น  จึงจำ�เป็นต้องเข้�ใจคว�มยืดหยุ่นของระบบ
          นิเวศ และขีดจำ�กัดของคว�มยืดหยุ่น ซึ่งเป็นเรื่องร�วที่มีคว�มซับซ้อนสูงม�ก สำ�หรับปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับ



       68        สมาคมดินและปุ๋ยแห่งประเทศไทย
   67   68   69   70   71   72   73   74   75   76   77