Page 110 -
P. 110

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
          คุณภาพดินเพื่อการเกษตร






                                                                           System
                                                                           Boundery







                                                                      External / Internal
                                                                      potentials



                                                                     }  Soil






          ภ�พที่ 4.2  ในทัศนมิติของระบบนิเวศ (ecosystem perspective) ถือว่�ดินเป็นส่วนประกอบของระบบ และ
          อยู่ในขอบเขตของระบบ  (system  boundary)  โดยมีจุดเริ่มต้นแบบหนึ่งภ�ยในขอบเขตของระบบนี้  แล้ว
          เปลี่ยนแปลงไปตลอดเวล� และมีก�รแลกเปลี่ยนสส�รและพลังง�นระหว่�งภ�ยในระบบกับภ�ยนอก



          6. มิติเชิงพื้นที่และเวล�ของระบบนิเวศ
                   กระบวนก�รของระบบนิเวศและองค์ประกอบของระบบนิเวศ  มีคว�มผันแปรอย่�งม�กในเชิง

          เวล�และพื้นที่ ก�รรวบรวมกันขึ้นขององค์ประกอบจนเกิดคว�มซับซ้อนในระบบนิเวศ ต�มกระบวนก�รที่
          ดำ�เนินไปในมิติเชิงเวล�และพื้นที่ (special and temporal dimensions) นั้น เป็นสิ่งสำ�คัญที่ช่วยให้เกิด
          คว�มเข้�ใจในเรื่องโครงสร้�งและก�รทำ�หน้�ที่ของระบบนิเวศ  ก�รศึกษ�เชิงนิเวศของนักวิช�ก�รแต่ละ

          กลุ่มมีคว�มแตกต่�งกันอยู่บ้�ง  เช่น  ง�นด้�นคุณภ�พดินให้คว�มสำ�คัญกับก�รศึกษ�เชิงพื้นที่และเวล�
          ค่อนข้�งหล�กหล�ย  ในเชิงพื้นที่นั้นให้คว�มสนใจตั้งแต่สิ่งที่มีขน�ดวัดด้วยหน่วยมิลลิเมตร เช่น อิทธิพล

          ของไรโซสเฟียร์  ไปจนถึงพื้นที่ซึ่งกว้�งย�วนับพันกิโลเมตร  เช่น  คว�มแปรปรวนของสภ�พดินระหว่�ง
          ชีวนิเวศ (biomes) ต่�งๆ ส่วนมิติของเวล�ก็สนใจในสิ่งที่แตกต่�งกันม�ก เช่น ก�รแลกเปลี่ยนไอออน ซึ่ง
          ใช้เวล�ในหน่วยของวิน�ที  หรือกระบวนก�รที่ใช้เวล�ย�วน�นหล�ยศตวรรษ  เช่น  ก�รกำ�เนิดดิน  (ภ�พ

          ที่  4.3)  สำ�หรับบ�งกระบวนก�ร  เช่น  ก�รดูดซับฟอสเฟตไอออนบนผิวของคอลลอยด์ดิน  เกิดขึ้นในมิติ
          ของสเกลเวล�และพื้นที่เพียงน้อยนิด   เมื่อเทียบกับกระบวนก�รเกิดดินจ�กวัตถุต้นกำ�เนิดที่ทับถมจ�ก

          ธ�รนำ้�แข็ง (Carter et al., 1997)
                   นักวิทย�ศ�สตร์บ�งท่�นได้จัดกลุ่มกระบวนก�รในดินต�มมิติของเวล�ดังนี้ 1) กระบวนก�รที่มี
          พลวัตสูง (highly dynamic) เช่น ก�รเคลื่อนย้�ยของธ�ตุอ�ห�รที่ละล�ยได้ 2) กระบวนก�รที่มีพลวัต

          เช่น  ก�รแลกเปลี่ยนไอออน  และ  3)  กระบวนก�รที่มีภ�วะสถิต  (static)  ม�กขึ้น  เช่น  ก�รปลดปล่อย
          ธ�ตุอ�ห�รจ�กก�รผุพังของแร่




      106        สมาคมดินและปุ๋ยแห่งประเทศไทย
   105   106   107   108   109   110   111   112   113   114   115