Page 111 -
P. 111

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
                                                                        คุณภาพดินเพื่อการเกษตร



                              10000000
                               1000000                                 Blomes &  Soil taxa  (great group)
                                100000

                                10000
                                 1000                              Floodplain  Topsoll
                              Space, m  100               Cropland  or Rangeland  Landform

                                   10
                                    1                  Root System

                                   0.1       Rhizosphere  Soil   flora &   Fuana
                                  0.01   Soil Solutes
                                 0.001
                                       0.001  0.01  0.1  1  10  100  1000  10000  100000  1000000  10000000

                                                    Time, days

                 ภ�พที่ 4.3  สเกลเชิงเวล� (วัน-แกนตั้ง) และพื้นที่ (เมตร-แกนนอน) ขององค์ประกอบในระบบนิเวศ
                             (สัมพันธ์กับกระบวนก�รที่เกิดขึ้น) ซึ่งมีอิทธิพลโดยตรงต่อคุณภ�พดิน


                 6.1 อันตรกิริย�ระหว่�งพหุสเกลเชิงเวล�หรือพื้นที่

                     นักวิช�ก�รด้�นระบบนิเวศถือว่�อันตรกิริย�ระหว่�งกระบวนก�รต่�งๆ เป็นพหุสเกล (multiple
            scales)  ในเชิงเวล�และพื้นที่  ในขณะที่ก�รศึกษ�ด้�นก�รผลิตพืชพิจ�รณ�แต่ละครั้งเพียงสเกลเดียว

            (single  scale)  กระบวนก�รของระบบนิเวศที่สเกลหนึ่งๆ  จะถูกบังคับจ�กตัวแปรต่�งๆ  ที่ขับเคลื่อน
            กระบวนก�รในระดับที่สูงกว่�  และใช้ในก�รอธิบ�ยกลไกที่ควบคุมกระบวนก�รในระดับสเกลที่เล็กกว่�
            เช่น  กระบวนก�รในไรโซสเฟียร์จะถูกบังคับจ�กลักษณะของระบบร�ก  ซึ่งระบบร�กนั้นก็ถูกบังคับด้วย

            ระดับคว�มลึกของดินอีกต่อหนึ่ง  (ภ�พที่  4.3)  อย่�งไรก็ต�ม  คว�มสำ�คัญของก�รแลกเปลี่ยนไอออนที่
            ผิวของคอลลอยด์ดิน และของกระบวนก�รในไรโซสเฟียร์นั้น มีคว�มสำ�คัญในสเกลที่ใหญ่ขึ้นอย่�งชัดเจน

            เช่น ผลิตภ�พของพื้นที่เพ�ะปลูกพืช และยังมีคว�มสำ�คัญต่อกระบวนก�รสร้�งดินด้วย
                     กล่�วได้ว่�  เทคโนโลยีด้�นก�รจัดก�รดินที่ก้�วหน้�และใช้ได้ผลดีนั้น  เริ่มม�จ�กก�รทดลอง
            ระดับสเกลเล็กๆ (เวล�น้อยกว่� 1,000 วัน และขน�ดพื้นที่วัดด้วยหน่วยเมตร) ส่วนข้อมูลซึ่งได้จ�กก�ร

            ศึกษ�ในสเกลที่ใหญ่ก็มีเช่นเดียวกัน เช่น ก�รศึกษ�ก�รกำ�เนิดดิน ก�รปลูกพืชหมุนเวียนระยะย�ว และ
            ก�รศึกษ�ลุ่มนำ้�ในป่�ไม้ ต่อม�ยังมีก�รศึกษ�ข้อมูลภูมิทัศน์ระยะไกล อย่�งไรก็ต�ม เมื่อมองในแง่ผลของ

            ก�รใช้ง�นแล้ว  ก�รวิจัยท�งนิเวศวิทย�ในช่วงเวล�ที่ย�ว  จะให้คว�มกระจ่�งในเรื่องอันตรกิริย�ระหว่�ง
            ก�รจัดก�รในสเกลที่ครอบคลุมฤดูก�ลกับสเกลของคุณภ�พดินที่มีช่วงเวล�นับทศวรรษขึ้นไป  ด้วยเหตุนี้
            เอง นักวิช�ก�รด้�นระบบนิเวศจึงได้สร้�งกลุ่มฐ�นข้อมูล (nested database) ซึ่งจัดระบบให้มีลักษณะ

            ก�รเรียงเป็นลำ�ดับชั้น  (stratification)  ลดหลั่นต�มมิติด้�นเวล�และพื้นที่  (temporal  and  spatial


                                                                สมาคมดินและปุ๋ยแห่งประเทศไทย     107
   106   107   108   109   110   111   112   113   114   115   116