Page 109 -
P. 109

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
                                                                        คุณภาพดินเพื่อการเกษตร





            ของปัญห�อันเกิดจ�กก�รใช้วิธีจัดก�รดินแบบที่เคยปฏิบัติกันม�  นอกจ�กนี้นวัตกรรมสมัยใหม่  เช่น
            ก�รเกษตรแบบแม่นยำ� (precision agriculture) ก็ต้องใช้ฐ�นคว�มรู้จ�กทั้งสองส่วนนี้



            5. ดินเป็นองค์ประกอบของระบบนิเวศ
                     คว�มรู้เบื้องต้นในท�งปฐพีวิทย�เน้นว่� ปัจจัยของก�รเกิดดินซึ่งมีอิทธิพลต่อก�รพัฒน�ของดิน

            มี 5 ประก�ร คือ ภูมิอ�ก�ศ (climate) สิ่งมีชีวิต (organisms) สภ�พภูมิประเทศ (topography) วัตถุ
            ต้นกำ�เนิดดิน (parent material) และเวล� (time) ดังนี้

                         Soil = ƒ (climate, organisms, topography, parent material, time)


                     สำ�หรับองค์ประกอบของระบบนิเวศหรือสมบัติของระบบนิเวศที่เป็นอยู่นั้น เช่น ดิน พืชพรรณ

            และสัตว์ต่�งๆ เกิดจ�กก�รทำ�หน้�ที่ของปัจจัยใน 3 สภ�พ (state factors) คือ สภ�พตอนเริ่ม (initial
            state) แรงผลักดันจ�กภ�ยนอก (external pressure) และเวล� (time) ดังนี้


                    Ecosystem property = ƒ (initial state, external pressure or potential, time)

                     ดังนั้น  ฟลักซ์  (flux)  หรือก�รแลกเปลี่ยนสส�รและพลังง�นระหว่�งภ�ยในระบบกับภ�ยนอก

            ระบบ  จะถูกควบคุมด้วยเกรเดียนต์  (gradient)  ระหว่�งภ�ยนอกและภ�ยในระบบ  (ภ�พที่  4.2)  ด้วย
            เหตุนี้ดินจึงมิได้เป็นอิสระจ�กระบบนิเวศแต่อย่�งใด  ยกตัวอย่�งเช่น  นักวิช�ก�รเคยถือว่�ภูมิอ�ก�ศและ

            วัตถุต้นกำ�เนิดดินเป็นแรงผลักดันจ�กภ�ยนอก  แต่ในปัจจุบันยอมรับกันว่�ชีวช�ติมีอิทธิพลอย่�งม�กต่อ
            องค์ประกอบของบรรย�ก�ศและภูมิอ�ก�ศ และมีผลต่อก�รเปลี่ยนแปลงของผิวโลกม�อย่�งย�วน�น
                     สำ�หรับแรงผลักดันจ�กภ�ยนอก ซึ่งควบคุมก�รพัฒน�ของระบบนิเวศจะมีม�กน้อยเพียงใด ยัง

            ขึ้นอยู่กับขน�ดขอบเขตของระบบนิเวศหรือสเกล  (เชิงเวล�และพื้นที่)  เช่น  องค์ประกอบของบรรย�ก�ศ
            อ�จผันแปรเพียงเล็กน้อยในช่วงทศวรรษหนึ่ง แต่เมื่อเข้�สู่ยุคสมัยของก�รพัฒน�ด้�นอุตส�หกรรมก็มีก�ร

            เปลี่ยนแปลงองค์ประกอบของบรรย�ก�ศม�ก  จนอ�จมีผลกระทบต่อระบบนิเวศไปย�วน�นนับศตวรรษ
            นอกเหนือจ�กขอบเขตท�งชีวฟิสิกส์ (biophysical boundary) ของระบบนิเวศซึ่งแสดงไว้ในภ�พที่ 4.2
            แล้ว  ยังมีอีกอย่�งหนึ่งที่ควรกล่�วถึง  คือ  ระบบนิเวศเกษตร  อันเป็นระบบนิเวศที่อยู่ในขอบเขตอิทธิพล

            ของภ�วะสังคมเศรษฐกิจ  (socioeconomic  boundaries)  ซึ่งมิติท�งสังคมเศรษฐกิจของระบบนิเวศ
            เกษตรนั้น เป็นสภ�พอันเกิดจ�กอันตรกิริย�ระหว่�งมนุษย์ สถ�บันที่เกี่ยวข้อง (ได้แก่ ชุมชน ระบบก�ร

            ตล�ด ธุรกิจก�รเกษตร รัฐบ�ล และศ�สน�) และระบบนิเวศธรรมช�ติ โดยนโยบ�ยของรัฐและกฎหม�ย
            ที่บังคับใช้มีผลต่อแนวท�งก�รใช้ที่ดินของเกษตรกร   ตลอดจนแนวท�งปฏิบัติที่เอื้อต่อก�รอนุรักษ์ดิน
            สำ�หรับนักวิช�ก�รด้�นก�รผลิตพืชก็ต้องปรับตัวเพื่อปฏิบัติง�นภ�ยใต้ข้อจำ�กัดของสภ�พสังคมเศรษฐกิจ

            ส่วนนักนิเวศวิทย�ก็ต้องห�คำ�ตอบเรื่องก�รจัดก�รระบบนิเวศที่เหม�ะสมกับสภ�พดังกล่�วด้วย




                                                                สมาคมดินและปุ๋ยแห่งประเทศไทย     105
   104   105   106   107   108   109   110   111   112   113   114