Page 106 -
P. 106

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
          คุณภาพดินเพื่อการเกษตร




                    (4) ภ�วะหลั่งส�รยับยั้งก�รเจริญเติบโต (antibiosis : 0 , -) ก�รอยู่ร่วมกันของสิ่งมีชีวิตที่
          ฝ่�ยใดฝ่�ยหนึ่งหลั่งส�รม�ยับยั้งก�รเจริญเติบโตของอีกฝ่�ยหนึ่ง

                  3) แบบเป็นกล�งต่อกัน (neutralism : 0 , 0) เป็นก�รอยู่ร่วมกันของสิ่งมีชีวิตที่ไม่มีฝ่�ยหนึ่ง
          ฝ่�ยใดได้หรือเสียประโยชน์ เช่น แมงมุมกับกระต่�ยในทุ่งหญ้�

              2.2 อันตรกิริย�ระหว่�งสิ่งไม่มีชีวิต
                  อันตรกิริย�ระหว่�งสิ่งไม่มีชีวิตมีอยู่ทั่วไป  เห็นได้จ�กแผนก�รทดลองด้�นก�รเกษตรบ�งแบบ
          ที่ใช้หลักสถิติ  จะมีก�รวิเคร�ะห์เพื่อห�อันตรกิริย�ระหว่�งตำ�รับทดลอง  (treatments)    ตัวอย่�งที่เห็น

          ได้ชัดที่สุดคืออันตรกิริย�ระหว่�งธ�ตุอ�ห�ร  ซึ่งมี  2  แบบ  คือ  อันตรกิริย�เชิงส่งเสริมกัน  (synergistic
          interaction) และอันตรกิริย�เชิงปฏิปักษ์ (antagonistic interaction) (ยงยุทธ, 2552) ดังนี้

                  1) อันตรกิริย�เชิงส่งเสริมกัน (synergistic interaction) เกิดได้เนื่องจ�ก (1) ธ�ตุอ�ห�รธ�ตุ
          หนึ่งช่วยให้อัตร�ก�รดูดของอีกธ�ตุหนึ่งสูงขึ้น และ (2) ธ�ตุอ�ห�รธ�ตุหนึ่งช่วยให้อีกธ�ตุหนึ่งทำ�หน้�ที่ใน
          กระบวนก�รเมแทบอลิซึมได้มีประสิทธิภ�พสูงขึ้น

                  2) อันตรกิริย�เชิงปฏิปักษ์  (antagonistic  interaction)  (1)  ธ�ตุอ�ห�รธ�ตุหนึ่งยับยั้งกลไก
          ก�รดูดและก�รเคลื่อนย้�ยอีกธ�ตุหนึ่ง  ทำ�ให้อัตร�ก�รดูดและก�รเคลื่อนย้�ยธ�ตุหลังลดลง  และ  (2)

          ธ�ตุอ�ห�รธ�ตุหนึ่งยับยั้งก�รเข้�ทำ�หน้�ที่ในกระบวนก�รเมแทบอลิซึมของอีกธ�ตุหนึ่ง  แม้ว่�ธ�ตุหลังนี้
          จะมีอยู่ในเซลล์พืช แต่ก็ทำ�หน้�ที่ไม่ได้



          3. ภ�พรวมของระบบนิเวศบนบก
                  ระบบนิเวศบนบกประกอบด้วยดิน  นำ้�  บรรย�ก�ศ  พืชและสิ่งมีชีวิตอื่นๆ  สุขภ�พดินหรือ

          คุณภ�พดินที่ดีมีคว�มสำ�คัญอย่�งยิ่งต่อคว�มคงอยู่ของระบบนิเวศ   หรือก�รฟื้นคืนกลับม�ดีดังเดิม
          ห�กระบบนิเวศได้รับผลกระทบจ�กสภ�พต่�งๆ  เช่น  คว�มแห้งแล้ง  ภูมิอ�ก�ศเปลี่ยนแปลง  ก�รเข้�ม�
          รบกวนของศัตรู  และก�รแสวงห�ประโยชน์ของมนุษย์  ซึ่งรวมทั้งก�รเกษตรด้วย  จ�กหลักก�รสำ�คัญ

          ที่กล่�วว่�คุณภ�พดินขึ้นอยู่กับองค์ประกอบต่�งๆ  ของดิน  ซึ่งทำ�ให้ดินมีคว�มส�ม�รถในก�รทำ�หน้�ที่
          ต่�งๆ  หน้�ที่เหล่�นั้นได้แก่  ก�รคำ้�จุนให้พืชเจริญเติบโต  (เช่น  ควบคุมคว�มเป็นประโยชน์ของนำ้�และ

          ธ�ตุอ�ห�ร)  ภ�วะบัฟเฟอร์ด้�นสิ่งแวดล้อม  (เช่น  ควบคุมก�รเคลื่อนย้�ยของธ�ตุต่�งๆ  และควบคุม
          สิ่งปนเปื้อนในนำ้�และอ�ก�ศ)  รวมทั้งก�รทำ�หน้�ที่เป็นแหล่งรวมด้�นพันธุกรรมของสิ่งมีชีวิต  โดยเฉพ�ะ
          อย่�งยิ่งจุลินทรีย์และเมล็ดพืช

                  ดิน  (soil)  หรือ  ปฐพีภ�ค  (pedosphere)  เป็นส่วนที่เกิดจ�กก�รตัดกันระหว่�งธรณีภ�ค
          (lithosphere),  อุทกภ�ค  (hydrosphere),  บรรย�ก�ศ  (atmosphere),  ชีวภ�ค  (biosphere)  และ

          มนุษยภ�ค (noösphere) สำ�หรับคำ� “มนุษยภ�ค” นั้น มีผู้บัญญัติคำ�นี้เพื่อแยกบทบ�ทของมนุษย์จ�ก
          ชีวภ�คทั่วไป  เพื่อให้  “มนุษยภ�ค”  รวมเอ�อิทธิพลของกระบวนก�รต่�งๆ  ที่มนุษย์ก่อให้เกิดขึ้นในโลก
          โดยเฉพ�ะอย่�งยิ่งระบบก�รเกษตร  ส่วน  “นิเวศภ�ค  (ecosphere)”  เป็นคำ�ที่บัญญัติขึ้นใหม่เพื่อให้



      102        สมาคมดินและปุ๋ยแห่งประเทศไทย
   101   102   103   104   105   106   107   108   109   110   111