Page 102 -
P. 102

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
          คุณภาพดินเพื่อการเกษตร




                   1)  ส่วนประกอบที่ไม่มีชีวิต มี 3 ส่วน คือ 1) ส�รอนินทรีย์ ได้แก่ หินและแร่ธ�ตุอ�ห�รในดิน
          ค�ร์บอนไดออกไซด์  ออกซิเจน  และนำ้�  2)  ส�รอินทรีย์  ได้แก่  ค�ร์โบไฮเดรต  โปรตีน  ไขมัน  และ

          อินทรียวัตถุในดิน  ฯลฯ  และ  3)  สภ�พแวดล้อมท�งก�ยภ�พ  ได้แก่  อุณหภูมิ  แสง  คว�มชื้น  สภ�พ
          กรด-ด่�ง และคว�มเค็มของดินและนำ้�

                   2)  ส่วนประกอบที่มีชีวิต คือ ผู้ผลิต ผู้บริโภค และผู้ย่อยสล�ย ดังนี้
                     (1) ผู้ผลิต คือ สิ่งมีชีวิตที่ส�ม�รถนำ�พลังง�นจ�กแสงอ�ทิตย์ม�สังเคร�ะห์อ�ห�รขึ้นได้เอง
          โดยใช้ธ�ตุอ�ห�รและสส�รที่มีอยู่ต�มธรรมช�ติ ได้แก่ พืชสีเขียว แพลงค์ตอนพืช และแบคทีเรียบ�งชนิด

          ก�รผลิตของผู้ผลิตคือพืชนั้นมี 2 ลักษณะ คือ 1) เป็นไปต�มธรรมช�ติ และ 2) เป็นระบบที่มนุษย์จัดก�ร
          คือก�รผลิตพืช  ซึ่งเป็นกระบวนก�รสร้�งผลผลิตเชิงเศรษฐกิจจ�กพืช  โดยมีก�รจัดก�รดิน  นำ้�  และพืช

          ตลอดจนก�รควบคุมศัตรูพืชด้วย
                     (2) ผู้บริโภค  คือ  สิ่งมีชีวิตที่กินสิ่งมีชีวิตอื่นๆ  เป็นอ�ห�รแบ่งได้เป็น  3  ประเภท  คือ  1)
          สิ่งมีชีวิตที่กินพืชเป็นอ�ห�ร เช่น วัว คว�ย กระต่�ย และปล�ที่กินพืชเล็กๆ  2) สิ่งมีชีวิตที่กินสัตว์อื่นเป็น

          อ�ห�ร เช่น เสือ สุนัข กบ สุนัขจิ้งจอก และ  3) สิ่งมีชีวิตที่กินทั้งพืช และสัตว์ เช่น มนุษย์
                       จ�กส่วนประกอบที่มีชีวิต 2 ส่วนนี้ พืชคือผู้ผลิตอ�ห�รลำ�ดับแรก เป็นจุดแรกของห่วง

          โซ่อ�ห�ร สำ�หรับผู้ที่กินผู้ผลิตเรียกว่�ผู้บริโภค ซึ่งมีหล�ยระดับ  ดังนั้นสิ่งมีชีวิตหนึ่งจึงอ�จเป็นผู้บริโภคได้
          หล�ยระดับด้วย ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับชนิดของอ�ห�รที่สิ่งมีชีวิตนั้นกิน เช่น คนกินถั่ว คนเป็นผู้บริโภคอันดับหนึ่ง
          แต่วัวกินหญ้�แล้วคนกินเนื้อวัว  กรณีนี้ถือว่�วัวเป็นผู้บริโภคอันดับหนึ่งหรือปฐมภูมิ  ส่วนคนเป็นผู้บริโภค

          อันดับสองหรือทุติยภูมิ
                     (3) ผู้ย่อยสล�ย  เป็นพวกที่มีบทบ�ทในก�รย่อยสล�ยซ�กสิ่งมีชีวิต  จ�กเดิมที่เป็นชิ้นใหญ่

          ให้กล�ยเป็นชิ้นเล็ก  แล้วสล�ยลงไปจ�กส�รอินทรีย์โมเลกุลใหญ่ให้มีโมเลกุลขน�ดเล็กลง  นอกจ�กนั้นยัง
          แปรสภ�พส�รอินทรีย์บ�งชนิด เช่น กรดอะมิโน ให้เป็นแอมโมเนียซึ่งเป็นส�รอนินทรีย์ด้วยกระบวนก�ร
          มินเนอร�ลไลเซชัน (mineralization) ก�รดำ�รงชีวิตของสิ่งมีชีวิตต่�งๆ ในธรรมช�ติมีคว�มเกี่ยวข้องกัน

          คว�มสัมพันธ์ระหว่�งสิ่งมีชีวิตทั้ง  3  กลุ่มของระบบนิเวศ  มีก�รถ่�ยเทพลังง�นเป็นทอดจ�กผู้ผลิตสู่
          ผู้บริโภคและผู้ย่อยสล�ย ก�รไหลเวียน และก�รส่งต่อพลังง�นเป็นทอดๆ หรือปร�กฏก�รณ์ที่ “สิ่งมีชีวิต

          ชนิดหนึ่งกินสิ่งมีชีวิตอีกชนิดหนึ่งเพื่อก�รดำ�รงชีวิต”  นี้  เรียกว่�โซ่อ�ห�ร  และในโซ่อ�ห�รก็มิได้มีเพียง
          โซ่เดียว แต่หล�ยโซ่มีคว�มเชื่อมโยง เกี่ยวกันและไขว้กันไปม� ซึ่งเรียกว่�ส�ยใยอ�ห�ร



          2. อันตรกิริย�
                   อันตรกิริย�  (interaction)  หม�ยถึงก�รกระทำ�ที่เกิดขึ้นระหว่�งวัตถุหรือระหว่�งสิ่งมีชีวิตใน

          ชุมชีพสองหรือม�กกว่�สองอย่�ง  และก�รกระทำ�ต่อกันนั้นมีผลซึ่งกันและกัน  ในที่นี้จะแบ่งอันตรกิริย�
          ต�มธรรมช�ติของสิ่งที่กระทำ�ต่อกันเป็น 2 แบบ คือ (1) อันตรกิริย�ระหว่�งสิ่งมีชีวิต และ (2) อันตรกิริย�
          ระหว่�งสิ่งไม่มีชีวิต



       98        สมาคมดินและปุ๋ยแห่งประเทศไทย
   97   98   99   100   101   102   103   104   105   106   107