Page 103 -
P. 103
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
คุณภาพดินเพื่อการเกษตร
2.1 อันตรกิริย�ระหว่�งสิ่งมีชีวิต
ถึงแม้ว่�ระบบนิเวศจะมีขน�ดต่�งๆ กัน แต่ระบบนิเวศในแต่ละแห่งรองรับจำ�นวนสิ่งมีชีวิตได้
อย่�งจำ�กัดเสมอ ทั้งนี้เนื่องจ�กส�เหตุ 2 ประก�ร (Carter et al.,1997) คือ
1) คว�มจำ�กัดของปัจจัยอชีวนะ เช่น อ�ห�ร นำ้� หรือที่อยู่
2) อันตรกิริย�ระหว่�งสิ่งมีชีวิตด้วยกัน สำ�หรับอันตรกิริย�ระหว่�งสิ่งมีชีวิตชนิดต่�งๆ ส่วนใหญ่
เกิดจ�กเรื่องอ�ห�ร ได้แก่ ก�รแก่งแย่งเพื่อให้ได้ม�ซึ่งอ�ห�รจ�กแหล่งเดียวกัน ก�รห�เหยื่อ และก�ร
หลบหลีกไม่ให้ตกเป็นเหยื่อ
อันตรกิริย�ระหว่�งสิ่งมีชีวิต คือคว�มสัมพันธ์ต่อกันที่เกิดจ�กก�รกระทำ�ระหว่�งสิ่งมีชีวิต 2
ชนิดขึ้นไปที่อยู่ในระบบนิเวศเดียวกัน เป็นก�รกระทำ�ที่มีผลกระทบซึ่งกันและกัน ทำ�ให้เกิดก�รสร้�ง
ก�รเปลี่ยนแปลงและก�รกระตุ้นให้เกิดกิจกรรมใหม่ ซึ่งมีผลต่อก�รดำ�รงชีพของสิ่งมีชีวิตเหล่�นั้นใน
ระบบนิเวศต่�งๆ สิ่งมีชีวิตในแต่ละระบบนิเวศมีคว�มสัมพันธ์กันในลักษณะที่แตกต่�งกัน 3 แบบ (Odum
and Barrett., 2013) ดังนี้
1) ก�รเลี้ยงชีพด้วยซ�ก (saprotropism) เป็นสภ�พก�รดำ�รงชีพของสิ่งมีชีวิตบ�งอย่�งที่
ไม่เบียดเบียนสิ่งมีชีวิตอื่นในขณะที่สิ่งมีชีวิตเหล่�นั้นมีชีวิต แต่จะกินเมื่อสิ่งมีชีวิตอื่นต�ยแล้ว เพร�ะอยู่ได้
ด้วยก�รกินซ�กของสิ่งมีชีวิตอื่น ได้แก่ ร�กินซ�กและแบคทีเรียกินซ�ก (saprophyte) สำ�หรับสัตว์ที่กิน
เนื้อสัตว์ที่ต�ยหรือส�รอินทรีย์ที่เน่�เปื่อยแล้วเรียกว่�สัตว์กินซ�ก (scavenger)
2) ภ�วะปฏิปักษ์ (antagonism) เป็นคว�มสัมพันธ์ที่สิ่งมีชีวิตฝ่�ยหนึ่งได้ประโยชน์ขณะที่อีก
ฝ่�ยหนึ่งเสียประโยชน์ เป็นอันตร�ยหรือถูกทำ�ล�ย แบ่งเป็น 4 แบบ คือ
(1) ภ�วะปรสิต (parasitism) เป็นคว�มสัมพันธ์ที่ฝ่�ยหนึ่งคือปรสิตหรือตัวเบียน (parasite)
ได้ประโยชน์แต่อีกฝ่�ยหนึ่งคือตัวให้อ�ศัยหรือตัวถูกเบียน (host) เป็นอันตร�ย นักวิทย�ศ�สตร์บ�งท่�น
จัดภ�วะปรสิตเป็นแบบหนึ่งของภ�วะอยู่ร่วมกัน (symbiosis) เนื่องจ�กปรสิตอยู่ร่วมกับตัวให้อ�ศัย
(2) ก�รล่�เหยื่อ (predation) คือคว�มสัมพันธ์ที่เกิดขึ้นระหว่�งผู้ล่�เหยื่อ (predator) ซึ่ง
เป็นสัตว์ที่ล่�สัตว์อื่นม�เป็นอ�ห�ร กับเหยื่อ (prey) ซึ่งเป็นสัตว์ที่ถูกล่� จึงมีคว�มสัมพันธ์ระหว่�งผู้ล่�
เหยื่อกับเหยื่อ (predator-prey relationship) ดังนี้ เมื่อจำ�นวนสัตว์ที่เป็นเหยื่อมีม�กขึ้น จำ�นวนผู้ล่�
เหยื่อก็เพิ่มเป็นสัดส่วนกับแหล่งอ�ห�ร แต่เมื่อจำ�นวนผู้ล่�เหยื่อเพิ่มขึ้นและล่�เหยื่อม�เป็นอ�ห�รม�ก
จำ�นวนประช�กรของเหยื่อก็ลดลง ส่งผลให้ผู้ล่�เหยื่ออดอย�กและลดประช�กรลงไปด้วย
(3) ก�รแข่งขัน (competition) คือคว�มสัมพันธ์ระหว่�งสิ่งมีชีวิตที่เกิดขึ้นเมื่อสิ่งมีชีวิต
ม�กกว่� 1 ตัวหรือม�กกว่� 1 ต้น ดิ้นรนเพื่อให้ได้ปัจจัยสำ�หรับก�รดำ�รงชีพอย่�งเดียวกันในแหล่งที่อยู่
หรือถิ่นที่อยู่ (habitat) เดียวกัน เช่น ต้นพืชที่อยู่ใกล้กันจะแย่งนำ้� แสง และธ�ตุอ�ห�รกัน ห�กปัจจัย
ดังกล่�วมีจำ�กัด พืชบ�งต้นจะแคระแกร็นหรือต�ย ส่วนพืชที่แข็งแรงกว่�และมีชีวิตรอดก็มีโอก�สใช้นำ้�
แสงและธ�ตุอ�ห�รที่มีอยู่ต่อไป ก�รแข่งขันจึงควบคุมจำ�นวนประช�กรของสิ่งมีชีวิตที่อยู่รอดในพื้นที่
ซึ่งมีทรัพย�กรจำ�กัด
สมาคมดินและปุ๋ยแห่งประเทศไทย 99