Page 105 -
P. 105

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
                                                                        คุณภาพดินเพื่อการเกษตร





            หรืออยู่ระหว่�งเซลล์  เช่น เชื้อไรโซเบียมในปมร�กถั่ว ซึ่งมีทั้งคว�มสัมพันธ์อย่�งแนบชิดเชิงก�ยภ�พและ
            ชีวเคมี (close physical and biochemical contact) กับร�กถั่ว โดยเชื้อไรโซเบียมเข้�ไปในเซลล์ร�ก

            เพิ่มจำ�นวนเซลล์ของตัวเองและเซลล์ร�ก  สร้�งปมร�ก  เปลี่ยนสภ�พของเซลล์ของตัวเองให้มีคว�มพร้อม
            สำ�หรับกระบวนก�รตรึงไนโตรเจน      รวมทั้งเชื่อมโยงให้มีกระบวนก�รสังเคร�ะห์ส�รประกอบอินทรีย์
            ไนโตรเจนในเซลล์ของร�กถั่วอีกด้วย

                     นักนิเวศวิทย�บ�งท่�นได้อธิบ�ยคว�มสัมพันธ์ระหว่�งสิ่งมีชีวิตต่�งชนิดในระบบนิเวศเดียวกัน
            (interspecific  interaction)  โดยแบ่งเป็น  3  รูปแบบ  และให้คว�มหม�ยของศัพท์ที่แตกต่�งไปจ�ก

            ข้�งต้นเล็กน้อย คือ แบบอยู่ร่วมกันอย่�งสันติ (symbiosis) แบบปฏิปักษ์ต่อกัน (antagonism) และ แบบ
            เป็นกล�งต่อกัน (neutralism)
                     1) แบบอยู่ร่วมกันอย่�งสันติ (symbiosis) เป็นก�รอยู่ร่วมกันของสิ่งมีชีวิต 2 ชนิด ที่ฝ่�ยหนึ่ง

            หรือทั้งสองฝ่�ยได้ประโยชน์ โดยไม่มีฝ่�ยใดเสียประโยชน์ มี 3 แบบย่อย (มีเครื่องหม�ยแสดงผล 3 แบบ
            + ได้ประโยชน์, – เสียประโยชน์, 0 ไม่ได้และไม่เสียประโยชน์, มีเครื่องหม�ย 2 อันคู่กัน เพื่อแสดงผลที่

            คู่กรณีได้รับ) คือ
                       (1) ภ�วะพึ่งพ�กัน (mutualism : + , +) หม�ยถึง ก�รอยู่ร่วมกันของสิ่งมีชีวิต 2 ชนิด โดย
            ต่�งก็ได้รับประโยชน์ซึ่งกันและกัน ห�กแยกกันอยู่จะไม่ส�ม�รถดำ�รงชีวิตต่อไปได้ เช่น ร�กับส�หร่�ยใน

            ไลเค็น
                       (2) ภ�วะได้ประโยชน์ร่วมกัน (protocooperation : + , + ) ก�รอยู่ร่วมกันของสิ่งมีชีวิต 2

            ชนิด โดยต่�งฝ่�ยต่�งได้รับประโยชน์ ถ้�แยกกันอยู่ก็อยู่ได้ต�มปกติ เช่น แมลงกับดอกไม้
                       (3) ภ�วะอิงอ�ศัยหรือภ�วะเกื้อกูล (commensalism : + , 0) ก�รอยู่ร่วมกันของสิ่งมีชีวิต
            2 ชนิด ที่ฝ่�ยหนึ่งได้ประโยชน์ อีกฝ่�ยหนึ่งไม่ได้และไม่เสียประโยชน์ เช่น พืชอิงอ�ศัย (epiphyte) บน

            ต้นไม้ใหญ่
                     2) แบบปฏิปักษ์ต่อกัน (antagonism) เป็นก�รอยู่ร่วมกันของสิ่งมีชีวิต 2 ชนิดที่ฝ่�ยหนึ่งฝ่�ย

            ใดเสียประโยชน์หรือเสียประโยชน์ทั้งสองฝ่�ย ได้แก่
                       (1) ภ�วะปรสิต (Parasitism : + , -) ก�รอยู่ร่วมกันของสิ่งมีชีวิต 2 ชนิด โดยฝ่�ยหนึ่งได้
            ประโยชน์ เรียกว่�ปรสิต (parasite) อีกฝ่�ยหนึ่งเสียประโยชน์ เรียกว่�ผู้ถูกอ�ศัย (host) ซึ่งมี 3 แบบ คือ

            (ก) ปรสิตภ�ยนอก (ectoparasite) ได้แก่ เห็บบนร่�งก�ยสัตว์ (ข) ปรสิตภ�ยใน (endoparasite) ได้แก่
            พย�ธิในร่�งก�ยสัตว์ และ (ค) พืชเบียน (parasitic plant) บนต้นไม้ เช่น ก�ฝ�ก

                       (2) ภ�วะล่�เหยื่อ (predation : + , -) ก�รอยู่ร่วมกันของสิ่งมีชีวิต โดยฝ่�ยหนึ่งเป็นผู้ล่�
            (predator) กับอีกฝ่�ยหนึ่งคือ เหยื่อ (prey) เป็นอ�ห�รของผู้ล่�
                       (3) ภ�วะแข่งขัน (competition : - , -) ก�รอยู่ร่วมกันของสิ่งมีชีวิตที่มีก�รแย่งปัจจัยในก�ร

            ดำ�รงชีพเหมือนกัน จึงเสียประโยชน์ทั้งสองฝ่�ย เช่น เสือ , สิงโต , สุนัขป่�




                                                                สมาคมดินและปุ๋ยแห่งประเทศไทย     101
   100   101   102   103   104   105   106   107   108   109   110