Page 108 -
P. 108

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
          คุณภาพดินเพื่อการเกษตร





                   1) กล่�วถึงในเชิงพรรณน�  โดยอธิบ�ยว่�อะไรเกิดขึ้นบ้�ง  ซึ่งเป็นสิ่งที่เกิดขึ้นแล้ว  ก�รศึกษ�
          ลักษณะของหน้�ตัดดิน และคว�มสัมพันธ์ระหว่�งลักษณะของดินกับวัตถุต้นกำ�เนิดดิน พืชพรรณ ภูมิอ�ก�ศ

          และภูมิประเทศนั้น คว�มรู้จ�กก�รศึกษ�ดังกล่�วมักเป็นเชิงพรรณน�ประกอบกับข้อมูลเชิงปริม�ณ
                   2) กล่�วถึงในเชิงกำ�หนดแนวท�ง   เป็นก�รระบุว่�สิ่งนั้นส�ม�รถทำ�ให้เกิดขึ้นจริงได้อย่�งไร
          จึงกล่�วครอบคลุมถึงปัจจัยต่�งๆ  ที่เกี่ยวข้อง  ขณะเดียวกันก็วิเคร�ะห์เกี่ยวกับปัจจัยที่ส่งเสริมและเป็น

          ตัวขัดขว�งก�รเกิดขึ้นของสิ่งนั้น แล้วจึงชี้ถึงแนวท�งที่เป็นจริงได้ม�กที่สุดภ�ยใต้เงื่อนไขดังกล่�ว
               4.1 ระบบนิเวศเชิงพรรณน�

                   ในก�รศึกษ�เกี่ยวกับก�รผลิตพืช  ผู้ศึกษ�จะมองดินในฐ�นะที่เป็นตัวกล�งซึ่งส่งเสริมก�รเจริญ
          เติบโตของพืช จึงทำ�ก�รทดลองด้�นคว�มอุดมสมบูรณ์ของดิน ก�รปลูกพืชหมุนเวียน วิธีก�รไถพรวน เพื่อ
          ห�วิธีที่จะทำ�ให้ผลผลิตสูงต�มที่ต้องก�ร  ก�รศึกษ�ดังกล่�วเป็นศ�สตร์ที่เน้นก�รเก็บข้อมูลเชิงปริม�ณ

          โดยมีวัตถุประสงค์ชัดเจนที่จะให้ได้วิธีปฏิบัติอันเหม�ะสม  ส�ม�รถนำ�ม�ใช้เพื่อเพิ่มผลผลิตพืชให้สูงขึ้น
          และได้ผลตอบแทนเหม�ะสมอย่�งยั่งยืน ผลก�รศึกษ�ในเชิงพรรณน�มี 2 ลักษณะ คือผลเชิงบวกและผล

          เชิงลบ
                   1) ผลเชิงบวก เกิดจ�กก�รปฏิบัติที่ถูกต้องและนำ�ไปสู่คว�มสำ�เร็จแล้ว ข้อมูลดังกล่�วส�ม�รถ
          นำ�ม�กำ�หนดแนวท�งที่ดีด้�นก�รผลิตพืช (agronomic prescription)

                   2) ผลเชิงลบ  คือผลอันไม่พึงปร�รถน�  เช่น  ก�รกร่อนดิน  ก�รอัดตัวแน่นของดิน  ตลอดจน
          มลพิษท�งดิน  นำ้�  และอ�ก�ศ  สำ�หรับผลกระทบด้�นลบบ�งประก�รต่อก�รผลิตพืช  อ�จมิได้เกิดจ�ก

          ปัญห�ข�ดข้อมูลก�รวิจัย  แต่อ�จเป็นเพร�ะก�รนำ�วิธีปฏิบัติไปใช้ในพื้นที่เพ�ะปลูกขน�ดใหญ่อย่�งไม่
          เหม�ะสม หรือใช้เทคโนโลยีเหล่�นั้นอย่�งไม่เหม�ะ เช่น ก�รปลูกพืชเชิงเดี่ยวอ�จให้ผลดีในระยะสั้น แต่
          เมื่อใช้ต่อเนื่องกันไประยะหนึ่งจะมีก�รสะสมศัตรูพืชม�กขึ้น  จนเป็นอุปสรรคต่อก�รผลิตพืชในระยะย�ว

          นอกจ�กนั้น เทคโนโลยีก�รบำ�รุงดินที่ใช้ได้ผลดีกับดินที่มีลักษณะสมำ่�เสมอ อ�จไม่เหม�ะกับพื้นที่ซึ่งดินมี
          คว�มแปรปรวนม�ก

               4.2 ระบบนิเวศเชิงกำ�หนดแนวท�ง
                   ในบทนี้จะได้อธิบ�ยก�รศึกษ�ในเชิงกำ�หนดแนวท�ง  (prescriptive  approach)  ด้วย  เพื่อ
          ทำ�คว�มเข้�ใจคุณภ�พดิน  สำ�หรับระบบนิเวศเชิงกำ�หนดแนวท�ง  (ecosystem  prescriptive)  นั้น

          เป็นก�รศึกษ�ที่เน้นโครงสร้�งระบบนิเวศ  (ecosystem  structure)  และก�รทำ�หน้�ที่ของระบบนิเวศ
          (ecosystem functioning) ในขอบเขตที่กว้�ง (large scale) ทั้งในเชิงพื้นที่ (space) และเวล� (time)

          โดยมิได้เป็นปร�กฏก�รณ์ที่เกิดขึ้น ณ จุดใดจุดหนึ่งเท่�นั้น อย่�งไรก็ต�ม ก�รรวมแนวคิดที่นำ�คว�มรู้ม�
          ใช้ประโยชน์ได้กว้�งของนักวิช�ก�รด้�นนิเวศวิทย�และปฐพีวิทย�  เข้�กับหลักก�รในเชิงกำ�หนดแนวท�ง
          ของนักวิช�ก�รด้�นก�รผลิตพืช น่�จะเป็นประโยชน์ม�กที่สุด ซึ่งหม�ยถึงก�รรวมแนวท�งก�รศึกษ�ของ

          นักนิเวศวิทย�กับนักวิช�ก�รเกษตรด้วย เชื่อกันว่�วิธีนี้จะช่วยแยกแยะประเด็นปัญห� และลดผลกระทบ




      104        สมาคมดินและปุ๋ยแห่งประเทศไทย
   103   104   105   106   107   108   109   110   111   112   113