Page 112 -
P. 112
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
คุณภาพดินเพื่อการเกษตร
hierarchies) ซึ่งข้อมูลในระบบดังกล่�วแสดงให้เห็นถึงอันตรกิริย�ระหว่�งสเกลที่ต่�งกัน จึงส�ม�รถนำ�
ไปใช้ง�นกับสเกลที่เหม�ะสมและเกิดคว�มเชื่อมโยงกับสเกลระดับอื่นได้เป็นอย่�งดี
6.2 ก�รจัดสเกลเพื่อประเมินคว�มยั่งยืน
คว�มท้�ท�ยในก�รศึกษ�ด้�นระบบนิเวศ คือ ก�รผสมผส�นคว�มรู้จ�กข้อมูลลักษะต่�งๆ
และแปลคว�มหม�ยข้อมูลที่ได้จ�กพหุสเกลในมิติของเวล�และพื้นที่ให้มีคว�มชัดเจน ถึงระดับที่นำ�ไปใช้
ประเมินคุณภ�พดินในระบบนิเวศได้ ก�รลดขน�ดสเกล (down-scaling) ของง�นเป็นแนวก�รปฏิบัติเพื่อ
ลดขน�ดของภ�ระง�น ในขณะที่ระบบซึ่งนำ�ม�ใช้ประโยชน์นั้น ได้ม�จ�กก�รสังเกตซึ่งอ�ศัยคว�มชำ�น�ญ
เป็นตัวกำ�หนด ทั้งนี้เพื่ออธิบ�ยว่�กระบวนก�รต่�งๆ ที่เกี่ยวข้องทำ�ง�นกันอย่�งไร ส่วนก�รเพิ่มขน�ด
สเกล (up-scaling) ของง�นนั้น ได้นำ�ข้อมูลจ�กก�รทำ�ง�นในสเกลเล็กกว่�ม�ขับเคลื่อนกระบวนก�รของ
สเกลที่ใหญ่กว่� แนวท�งนี้มีข้อดีคือจะได้อันตรกิริย�ระหว่�งปัจจัยเพิ่มขึ้นอีก นอกจ�กนี้ กระบวนก�ร
ดังกล่�วอ�จช่วยให้ได้ข้อมูลใหม่ๆ เพิ่มเติม นอกเหนือจ�กที่ได้ม�แล้วจ�กก�รทำ�ง�นด้วยสเกลที่เล็กกว่�
ก�รเพิ่มขน�ดสเกลในก�รทำ�ง�นเป็นสิ่งจำ�เป็นม�กสำ�หรับก�รศึกษ�คว�มยั่งยืนของระบบนิเวศ เนื่องจ�ก
แนวท�งนี้ช่วยให้นักวิจัยค�ดก�รก�รได้ใน 2 ประเด็น คือ
1) ระบบนิเวศจะทำ�หน้�ที่อย่�งไรในอน�คต (สเกลเชิงเวล�ที่มีขน�ดใหญ่) และ
2) ระบบนิเวศต่�งๆ มีอันตรกิริย�ต่อกันอย่�งไร (สเกลเชิงพื้นที่ขน�ดใหญ่ ก�รเปลี่ยนแปลง
สภ�พแวดล้อมในระดับโลก)
สำ�หรับคุณภ�พดินของพื้นที่ก�รเกษตรนั้น มีคว�มเกี่ยวข้องกับคว�มสำ�เร็จของก�รผลิตอ�ห�ร
และเส้นใย ในพื้นที่ขน�ดใหญ่และตลอดช่วงเวล�อันย�วน�น ทั้งตั้งคว�มหวังไว้ด้วยว่�จะประสบผล
สำ�เร็จเช่นนั้นตลอดไป อย่�งไรก็ต�ม ในทัศนมิติเชิงนิเวศ ดินจะทำ�หน้�ที่ต่�งๆ ได้ดีย่อมต้องก�รปัจจัย
ต่�งๆ เข้�ม�เสริมอย่�งเหม�ะสม เช่น ปัจจัยซึ่งควบคุมให้ปริม�ณนำ้�ไหลบ่�หน้�ดินน้อยลง และเพิ่ม
คว�มชื้นที่เป็นประโยชน์ต่อพืช กักเก็บนำ้�ใต้ดินไว้ได้ ทำ�หน้�ที่กรองส�รต่�งๆ และสร้�งภ�วะบัฟเฟอร์
เพื่อช่วยรักษ�คุณภ�พของอ�ก�ศและนำ้� เป็นต้น ดังนั้นก�รวิจัยในสเกลใหญ่ และก�รใช้วิธีเพิ่มขน�ด
สเกลของข้อมูล จ�กผลง�นที่เคยได้จ�กก�รศึกษ�ในสเกลเล็กซึ่งมีอยู่อย่�งกระจัดกระจ�ยให้เป็นรูปแบบ
ที่เหม�ะสม ถือว่�มีคว�มสำ�คัญม�กและเป็นประโยชน์ต่อง�น 2 ด้�น คือ
1) เพิ่มคว�มเข้�ใจชัดเจนเกี่ยวกับก�รเปลี่ยนแปลงคุณภ�พดินที่ผ่�นม�ในอดีต และ
2) ก�รค�ดหม�ยสถ�นก�รณ์ที่อ�จจะเกิดขึ้นในอน�คต
ก�รศึกษ�ด้�นคุณภ�พดินก็เช่นเดียวกัน เมื่อมีคว�มรู้ด้�นธรรมช�ติขององค์ประกอบดินจ�ก
ก�รศึกษ�ในเชิงพื้นที่ขน�ดเล็ก ก็ส�ม�ม�รถประมวลข้อมูลเหล่�นั้นม�ใช้ในก�รค�ดก�รณ์ล่วงหน้�ถึง
สถ�นก�รณ์ที่จะเกิดขึ้นในพื้นที่ขน�ดใหญ่ นอกจ�กนี้ ก�รวิจัยด้�นก�รเกษตรระยะย�วในแปลงทดลอง
ภ�คสน�ม คือกิจกรรมที่สำ�คัญม�ก เพร�ะช่วยให้นักวิจัยประเมินอิทธิพลของตัวแปรต่�งๆ ซึ่งมีผลกระทบ
ต่อก�รผลิตพืช (เช่น ก�รเปลี่ยนแปลงด้�นภูมิอ�ก�ศ) ในมิติของเวล�ที่ใกล้เคียงกันนั้น หรืออ�จใช้ค�ด
คะเนก�รอุบัติของภ�วะวิกฤติ เช่น คว�มแห้งแล้งและก�รระบ�ดของศัตรูพืชในอน�คต
108 สมาคมดินและปุ๋ยแห่งประเทศไทย