Page 117 -
P. 117

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
                                                                        คุณภาพดินเพื่อการเกษตร





                     ผลป้อนกลับเชิงบวก (positive feedback) ของระบบนิเวศ เกิดเมื่อตัวกระตุ้นทำ�ง�นและก�ร
            ตอบสนอง  มีแนวโน้มที่จะส่งเสริมให้เกิดก�รเปลี่ยนแปลง  ณ  จุดเริ่ม  แต่ผลป้อนกลับเชิงลบ  (negative

            feedback) ของระบบนิเวศ เกิดเมื่อตัวกระตุ้นทำ�ง�นและก�รตอบสนองไม่ส่งผลใดๆ ต่อก�รเปลี่ยนแปลง
            ณ  จุดเริ่ม  อย่�งไรก็ต�มอันตรกิริย�ทั้ง  2  แบบก็มีคว�มสำ�คัญต่อระบบนิเวศด้วยกันทั้งคู่  กล่�วคือ
            ผลป้อนกลับเชิงลบส่งเสริมภ�วะธำ�รงดุล  (homeostasis)  หรือเสถียรภ�พ  (stability)  ส่วนห่วงของ

            ผลป้อนกลับเชิงบวก  (positive  feedback  loop)  ก่อให้เกิดก�รเปลี่ยนแปลงเชิงวิวัฒน�ก�ร  ซึ่งส่งผล
            ให้สมดุลของระบบ  (system  equilibrium)  หรือเป้�หม�ยเปลี่ยนแปลงไป  ยกตัวอย่�งเช่น  ก�รสะสม

            อินทรียวัตถุในดินเกิดจ�กผลป้อนกลับเชิงบวก   กล่�วคือเมื่อเศษซ�กพืชร่วงหล่นจ�กต้นไม้บริเวณนั้น
            แล้วทับถมคลุกเคล้�กับดิน  ก�รย่อยสล�ยของซ�กพืชได้ปลดปล่อยธ�ตุอ�ห�รออกม�บำ�รุงเลี้ยงพืชอีก
            ครั้งหนึ่ง  ก�รเจริญเติบโตของพืชย่อมเพิ่มปริม�ณเศษซ�กที่ร่วงหล่น  ซึ่งส่งเสริมให้อินทรียวัตถุในดินเพิ่ม

            ขึ้น  แต่เมื่อมีซ�กพืชสะสมปริม�ณม�กเกินไป  จุลินทรีย์ดินซึ่งเพิ่มประช�กรอย่�งม�กม�ยก็ดึงเอ�ธ�ตุ
            อ�ห�รต่�งๆ ไปใช้ประโยชน์ ทำ�ให้ก�รเจริญเติบโตของพืชลดลงไป

                     กล่�วได้ว่�  ทั้งระบบนิเวศธรรมช�ติและระบบนิเวศเกษตรต่�งก็เป็นระบบไซเบอร์เนติก  แต่
            ระบบทั้งสองมีผู้ควบคุมในโครงสร้�งของระบบที่แตกต่�งกัน   กล่�วคือลักษณะไซเบอร์เนติกของระบบ
            นิเวศธรรมช�ติเกิดจ�กก�รรวมกันขององค์ประกอบและโครงสร้�งใหญ่สลับซับซ้อน  และเป็นระบบที่ไม่

            รวมศูนย์ สร้�งผลป้อนกลับได้เอง (self-organizing feedback) จ�กส�รสนเทศที่มีคว�มเชื่อมโยงระหว่�ง
            วัฏจักรแร่ธ�ตุและก�รเคลื่อนย้�ยของพลังง�น โดยไม่มีผู้ควบคุมที่จำ�เพ�ะเจ�ะจงดังภ�พที่ 4.5 (b)

                     ในกรณีที่มีผู้ควบคุมซึ่งมีอิทธิพลเหนือระบบ  เช่นมนุษย์เป็นผู้ควบคุมหรือครอบงำ�ระบบนิเวศ
            เกษตร  และใช้คว�มพย�ย�มม�กหรือน้อยก็ต�ม  เพื่อบังคับให้โครงสร้�งและหน้�ที่ของระบบมีทิศท�ง
            ซึ่งจะต้องบรรลุต�มเป้�หม�ยที่กำ�หนดไว้  ดังภ�พที่  4.5  (c)  ดังนั้นระบบนิเวศเกษตรจึงมีสภ�พคล้�ย

            เครื่องจักร  เนื่องจ�กเป้�หม�ยที่ต้องไปให้ถึงและบรรลุให้ได้  คือผลผลิตสูง  และมนุษย์เป็นผู้ควบคุม
            ระบบนี้



                 7.2 มนุษย์คือผู้ควบคุม
                     ในฐ�นะที่มนุษย์เป็นผู้ควบคุมระบบนิเวศเกษตร  เรื่องสัมฤทธิผลของก�รควบคุมระบบนี้จึงเป็น

            ประเด็นที่ต้องพิจ�รณ�กันม�ก ประเด็นหนึ่งที่สำ�คัญ คือ อ�ห�รและเส้นใยที่ผลิตได้จ�กพื้นที่ก�รเกษตร
            อันจำ�กัดนั้น จะทำ�ให้เพียงพอสำ�หรับก�รบริโภคและใช้สอยของประช�กรที่เพิ่มขึ้นได้อย่�งไร นอกจ�กนี้

            คว�มต้องก�รอ�ห�รสำ�หรับประช�ก�รของโลกที่เพิ่มขึ้นอย่�งต่อเนื่อง  ยังเป็นโจทย์สำ�คัญที่ต้องตอบให้
            ได้อย่�งชัดเจนในอน�คต  แต่เนื่องจ�กก�รเกษตรเป็นวิส�หกิจของมนุษย์ที่ต้องก�รดินคุณภ�พดินดีอย่�ง
            ยั่งยืน  ดังนั้นบทบ�ทของมนุษย์ในฐ�นะผู้ควบคุมระบบนิเวศเกษตร  ซึ่งรวมทั้งก�รจัดก�รดินด้วย  จึงมี

            คว�มสำ�คัญต่อคว�มอยู่รอดของมวลมนุษยช�ติในอน�คตเป็นอย่�งยิ่ง




                                                                สมาคมดินและปุ๋ยแห่งประเทศไทย     113
   112   113   114   115   116   117   118   119   120   121   122