Page 121 -
P. 121
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
คุณภาพดินเพื่อการเกษตร
พืชเหล่�นี้เร่งให้มีก�รสร้�งตัวของชั้นดิน (soil formation) ก�รเจริญเติบโตของหญ้�และเฟิร์นช่วยเพิ่ม
ส�รอินทรีย์ในดินและทำ�ให้ดินมีสภ�พดีขึ้น
3) ไม้ล้มลุก (herbaceous plants) เป็นพืชชนิดต่อไปที่เข้�ม�เจริญเติบโตและขย�ยพันธุ์เพิ่ม
จำ�นวนม�กขึ้น
4) ไม้พุ่ม (shrubs) ซึ่งเป็นพืชโตเร็ว มีทรงพุ่มใหญ่กว่�และเจริญเติบโตเร็วกว่�ได้ปกคลุมพืช
กลุ่มแรกที่เจริญเติบโตช้�กว่�
5) ไม้ยืนต้น (trees) ถึงแม้จะเจริญเติบโตช้� แต่เมื่อตั้งตัวได้ก็ข่มพืชอื่นๆที่ครอบครองพื้นที่
ม�ก่อน พืชที่อยู่ต�มพื้นป่�ใต้ทรงพุ่มของไม้ยืนต้นจึงเหลือเฉพ�ะชนิดพืชทนร่มเท่�นั้น เมื่อถึงขั้นนี้ได้
เกิดระบบนิเวศที่มีส�ยใยอ�ห�ร อันประกอบด้วยลำ�ดับก�รบริโภคหล�ยชั้น และมีอันตรกิริย�ระหว่�ง
องค์ประกอบของระบบนิเวศที่ซับซ้อน พอที่จะเป็นชุมชีพขั้นสุด (climax community)
สรุปได้ว่�ก�รเปลี่ยนแปลงแทนที่มีส�ระสำ�คัญ 3 ประก�ร คือ
1) สิ่งมีชีวิตแต่ละชนิดจะปรับสภ�พแวดล้อมให้ดีขึ้น และเปิดโอก�สสำ�หรับก�รเจริญเติบโต
ของสิ่งมีชีวิตชนิดอื่นๆ
2) เมื่อก�รเปลี่ยนแปลงแทนที่มีคว�มก้�วหน้� จะเพิ่มคว�มหล�กหล�ยท�งชีวภ�พซึ่งทำ�ให้
ส�ยใยอ�ห�รมีคว�มซับซ้อนยิ่งขึ้น
3) เมื่อถึงจุดหนึ่งซึ่งสภ�พแวดล้อมมิได้แปรปรวนม�กนัก ชุมชีพจะเข้�สู่ระยะที่มีเสถียรภ�พ
และก�รเปลี่ยนแปลงแทนที่ยุติลงกล�ยเป็นชุมชีพขั้นสุด
1 2 3 4 5
Bare ground Colonisers Pioneers Herbaceous Plants Shurbs Climax
linchens grasses weeds shurbs trees
mosses ferns bushes
ภ�พที่ 4.6 ก�รเปลี่ยนแปลงแทนที่ซึ่งเกิดบนแผ่นหินจนกล�ยเป็นชุมชีพขั้นสุด
ก�รเปลี่ยนแปลงแทนที่เกี่ยวข้องกับพลวัตของระบบนิเวศ ซึ่งเชื่อมโยงกันระหว่�ง 2 อย่�ง คือ
ก�รใช้ประโยชน์ (exploitation) สิ่งที่มีในระบบกับก�รรวมกลุ่มของสิ่งมีชีวิต (colonization) ในพื้นที่
ซึ่งถูกรบกวน ต่อจ�กนั้นก็มีก�รอนุรักษ์พลังง�นและธ�ตุอ�ห�ร เพื่อให้ชุมชีพอยู่ในภ�วะสมดุลและ
มีเสถียรภ�พอีกครั้งหนึ่ง นอกเหนือจ�กก�รเปลี่ยนแปลงของระบบนิเวศใน 2 วัฏภ�ค คือ วัฏภ�คใช้
สมาคมดินและปุ๋ยแห่งประเทศไทย 117