Page 126 -
P. 126

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
          คุณภาพดินเพื่อการเกษตร




                             High                                   Shifting
                          (many crops)                             cultivation
                                                            Agroforestry with
                                                             alley cropping
                                                  Nomadic      Savanna
                                                  pastoralism  mix farming
                                                     Vegetable   Communal
                                                   (truck) corpping  farming
                                                        Livestock &
                           Diversity of               grain production
                           productive     Rangeland   Rotation including
                            species        grazing  perennial crops
                                                   Multiple
                                                   cropping
                                                Annual    Orchard crop
                                              crop rotation  production
                                            Feedlot beef;
                                           dairy production
                             Low      Monocultural
                           (one crop)  cereal production
                                   Low        Spatial/temporal diversity  High
                                   (large areas,                     (small plots
                                   high frequency)                low frequency)

          ภ�พที่ 4.7 ก�รจำ�แนกระบบก�รเกษตร (agricultural systems) บนพื้นฐ�นของคว�มหล�กหล�ยท�งชีวภ�พ
          (biodiversity) ท�งด้�นพันธุ์พืชปลูกและปศุสัตว์ และคว�มซับซ้อนในมิติเชิงพื้นที่และเวล� (spatial/temporal
          complexity)  โดย  1)  แกนนอนแสดงทั้งคว�มซับซ้อนเชิงพื้นที่  [ตั้งแต่พื้นที่ขน�ดใหญ่และมีคว�มสมำ่�เสมอ

          (large homogeneous fields) ไปจนถึงพื้นที่ขน�ดเล็กเป็นหย่อมๆ (small patch-work plots)] และ 2) คว�ม
          ซับซ้อนในมิติด้�นเวล� [ครอบคลุมวิธีก�รจัดก�ร และก�รเปลี่ยนแปลงด้�นคว�มถี่ของก�รปลูก จ�กก�รปลูกพืช
          เชิงเดี่ยวเพียงปีเดียว  (annual  monocultures)  ไปสู่ก�รปลูกพืชหล�ยปีด้วยระบบพืชหมุนเวียนที่มีคว�ม
          ซับซ้อน (complex crop rotation) รวมทั้งก�รทำ�ไร่เลื่อนลอย (shifting cultivation)]



          9. ตัวชี้บอกของคุณภ�พดินและสุขภ�พของระบบนิเวศ
                   ก�รพิจ�รณ�ปร�กฏก�รณ์ในธรรมช�ติในทัศนะท�งนิเวศวิทย� จะเน้นคว�มงดง�มอันน่�พิศวง
          ที่เกิดจ�กคว�มเชื่อมโยงอย่�งซับซ้อนระหว่�งดินกับองค์ประกอบของระบบ และกระบวนก�รต่�งๆ ของ

          ระบบนิเวศ     ส่วนก�รประเมินอิทธิพลของมนุษย์ต่อองค์ประกอบและกระบวนก�รของระบบนิเวศนั้น
          ถือเป็นสิ่งสำ�คัญสูงสุดในก�รวัดคุณภ�พดินหรือคุณภ�พระบบนิเวศ  อย่�งไรก็ต�ม  ก�รวัดคุณภ�พดิน

          และคุณภ�พระบบนิเวศยังเป็นสิ่งที่มิได้ปฏิบัติกันอย่�งจริงจัง   เนื่องจ�กคว�มเข้�ใจของมนุษย์ในเรื่อง
          โครงสร้�ง หน้�ที่และพลวัตของระบบนิเวศ ยังถือว่�อยู่ในระดับเบื้องต้นเท่�นั้น แต่ในขั้นนี้มีคว�มชัดเจน
          ระดับหนึ่งว่�คุณภ�พดินและคุณภ�พระบบนิเวศมีคว�มเชื่อมโยงกันอย่�งใกล้ชิด  (ภ�พที่  4.8)  แม้ว่�

          คำ�นิย�มของทั้งคุณภ�พดินและคุณภ�พระบบนิเวศที่นักวิช�ก�รแต่ละกลุ่มบัญญัติไว้  จะยังเป็นที่โต้เถียง
          และไม่ลงรอยกันทีเดียว แต่อ�จถือต�มแนวคิดแบบก�รเกษตรดั้งเดิม ที่ยึดหลักก�รด้�น “คว�มเหม�ะสม

          สัมพัทธ์ (relative fitness) ของดินหรือระบบนิเวศ” ในก�รทำ�หน้�ที่ต่�งๆ ก็ได้


      122        สมาคมดินและปุ๋ยแห่งประเทศไทย
   121   122   123   124   125   126   127   128   129   130   131