Page 122 -
P. 122
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
คุณภาพดินเพื่อการเกษตร
ประโยชน์ (exploitation phase) และวัฏภ�คอนุรักษ์ (conservation phase) แล้ว ระบบนิเวศอ�จเข้�
สู่ช่วงทำ�ล�ยอย่�งสร้�งสรรค์ (creative destruction) และจัดองค์ประกอบเข้�กันใหม่ (reorganization)
ด้วย โดยเฉพ�ะอย่�งยิ่งในระบบนิเวศที่พัฒน�ม�น�น (mature ecosystem) ซึ่งมีคว�มเชื่องโยงและ
อันตรกิริย�ระหว่�งองค์ประกอบที่แข็งแรง ต่อม�อ�จจะมีก�รเปลี่ยนแปลงของระบบอย่�งทันทีทันใด
ก็ได้ สำ�หรับก�รเปลี่ยนแปลงทันทีทันใดนั้น (ก�รปลดปล่อยส�รต่�งๆ อันมีคุณค่�ในช่วงก�รทำ�ล�ยอย่�ง
สร้�งสรรค์) อ�จจุดชนวนให้มีก�รจัดองค์ประกอบเข้�กันใหม่และเกิดระบบนิเวศใหม่ขึ้นด้วย ต่อจ�กนั้น
ก็มีก�รสะสมอินทรียวัตถุและธ�ตุอ�ห�ร ซึ่งมีม�กพอและพร้อมที่นำ�ไปใช้ประโยชน์อีกครั้งหนึ่ง ดังนั้น
ระบบซึ่งมีคว�มเชื่อมโยงกันหล�ยส่วนและมีอันตรกิริย�เช่นนี้ จะเป็นส่วนที่เปลี่ยนแปลงต่อไปได้ง่�ย และ
มีคว�มเป็นไปได้สูงที่ระบบดังกล่�วจะเปลี่ยนแปลงไปสู่ลักษณะที่แปลกใหม่ แทนที่จะหันกลับไปเป็นแบบ
เดิมเมื่อเริ่มต้น กล่�วได้ว่�พลวัตของธ�ตุอ�ห�รส่งผลกระทบต่อก�รเปลี่ยนแปลงอย่�งกะทันหัน ทั้งนี้
เนื่องจ�กก�รพังทล�ยของระบบนิเวศนั้นเกิดขึ้นเมื่อก�รปลดปล่อยธ�ตุอ�ห�ร (nutrient mobilization)
ไม่สมดุลกับก�รกักเก็บธ�ตุอ�ห�ร (nutrient retention) ศักยภ�พที่เกิดก�รเปลี่ยนแปลงอย่�งกะทันหัน
ได้นี้ แสดงว่�ระบบนิเวศเกษตรมีคว�มส�ม�รถในก�รฟื้นฟูเพื่อเปลี่ยนแปลงเข้�สู่สภ�พใหม่ ซึ่งมีคว�ม
สำ�คัญเช่นเดียวกัน
ในขณะที่ส�รสนเทศแบบเครือข่�ย (information networks) และข้อมูลป้อนกลับที่ทำ�ง�น
แบบวงกลม (feedback loops) ของระบบนิเวศ ช่วยให้เกิดก�รจัดโครงสร้�งได้เอง (self organization)
และมีพลวัตของสมดุล (dynamic equilibrium) แต่จ�กก�รศึกษ�แบบย่อส่วน (reductionist studies)
พบว่�สิ่งเหล่�นี้ก็มีผลยับยั้งก�รรับบ�งอย่�งเข้�ม�ภ�ยในแต่ละกระบวนก�ร แม้ว่�ก�รศึกษ�ในแบบ
จำ�ลองที่ทำ�ให้ระบบนิเวศเกษตรมีลักษณะง่�ย จะให้ข้อมูลด้�นคว�มยั่งยืนของก�รผลิตอ�ห�ร แต่ก�ร
ศึกษ�แต่ละกระบวนก�รแบบเดี่ยวนั้น คงให้ข้อมูลไม่เพียงพอที่จะใช้สรุปเรื่องร�วของทั้งระบบ ดังนั้นจึง
เป็นก�รย�กที่จะลงคว�มเห็นอย่�งถูกต้องเกี่ยวกับระบบที่มีคว�มซับซ้อน ส่วนผลป้อนกลับหรือคว�ม
เชื่อมโยงของส�รสนเทศในระบบที่ซับซ้อน เป็นระบบไซเบอร์เนติกซึ่งให้ผลตอบสนองแบบไม่เป็นเส้นตรง
เนื่องจ�กก�รตอบสนองมีผลต่อก�รเปลี่ยนแปลงของตัวกระตุ้น ก�รตอบสนองแบบไม่เป็นเส้นตรงใน
ระบบ ซึ่งเป็นไปต�มกฎเกณฑ์ที่มีผู้ว�งไว้นี้ ชี้ว่�สิ่งที่จะเกิดขึ้นเป็นปร�กฏก�รณ์แบบสุ่มและมีคว�ม
ยุ่งเหยิงไม่เป็นระเบียบ ซึ่งจะทำ�ให้พฤติกรรมของระบบมีคว�มอ่อนไหวอย่�งยิ่ง และย�กที่จะค�ดหม�ย
ทิศท�งก�รเปลี่ยนแปลงของระบบดังกล่�ว ยกตัวอย่�งเช่น เมื่อพลวัตของบรรย�ก�ศอยู่ในสภ�พยุ่งเหยิง
ไม่เป็นระเบียบ ย่อมจะค�ดหม�ยทิศท�งก�รเปลี่ยนแปลงได้ย�กม�ก อย่�งไรก็ต�ม แม้ว่�สภ�พอัน
ซับซ้อนยุ่งเหยิงจะเกิดขึ้นในระบบนิเวศส่วนม�ก แต่ระบบนิเวศธรรมช�ติโดยทั่วไปก็มิได้มีสภ�พซับซ้อน
ยุ่งเหยิงเช่นนั้นเสมอ และก�รเข้�แทรกแซงของมนุษย์ต่อระบบนิเวศ โดยเฉพ�ะอย่�งยิ่งระบบนิเวศเกษตร
อ�จทำ�ให้ระบบดังกล่�วมีสภ�พยุ่งเหยิงได้
118 สมาคมดินและปุ๋ยแห่งประเทศไทย