Page 123 -
P. 123

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
                                                                        คุณภาพดินเพื่อการเกษตร





                 8.2 คว�มสัมพันธ์ระหว่�งคว�มซับซ้อนกับเสถียรภ�พ
                     ก�รทำ�คว�มเข้�ใจคว�มหม�ยเรื่องอัตร�ก�รส�บสูญของสิ่งมีชีวิตชนิดต่�งๆ  แบบไม่มีลำ�ดับ

            ก่อนหลัง อันเชื่อมโยงกับหน้�ที่ของระบบนิเวศนั้น ต้องใช้คว�มรู้แบบผสมผส�นด้�นนิเวศวิทย�ประช�กร
            (population ecology) นิเวศวิทย�เชิงระบบ (systems ecology) สำ�หรับนิเวศวิทย�ประช�กรมักจะ
            เน้นเรื่องอันตรกิริย�ภ�ยในประช�กรของสิ่งมีชีวิตชนิดเดียวกันและระหว่�งสิ่งมีชีวิตต่�งชนิด  ในขณะที่

            นิเวศวิทย�เชิงระบบเน้นเรื่องอันตรกิริย� (ด้�นก�รไหลของพลังง�นและธ�ตุอ�ห�ร) ระหว่�งกลุ่มสิ่งมีชีวิต
            ที่มีบทบ�ทสำ�คัญกับสภ�พแวดล้อมอันเป็นที่อยู่อ�ศัย   ส่วนก�รศึกษ�พลวัตของระบบนิเวศในช่วงแรก

            เน้นทัศนะด้�นสมดุลที่ว่�  ยิ่งเพิ่มคว�มซับซ้อนหรือคว�มหล�กหล�ย  เช่น  มีสิ่งมีชีวิตม�กชนิดและมี
            อ�ห�รหล�ยระดับ  จะช่วยให้ระบบนิเวศมีเสถียรภ�พ  คำ�กล่�วจ�กภูมิปัญญ�ที่ว่�  “อย่�เอ�ไข่ทั้งหมดที่
            คุณมีอยู่ไปใส่ตะกร้�เดียวกัน”  ชี้ให้เห็นว่�ระบบที่มีวิถีพลังง�นและก�รถ่�ยโอนส�รสนเทศหล�กหล�ย

            เป็นระบบที่มีเสถียรภ�พสูง  ดังนั้นจึงเชื่อกันว่�พื้นที่ธรรมช�ติซึ่งมีสิ่งมีชีวิตม�กชนิด  ย่อมมีเสถียรภ�พ
            ม�กกว่�ระบบก�รปลูกพืชเชิงเดี่ยว  ซึ่งไม่เป็นคว�มจริงทั้งหมด  เนื่องจ�กผลก�รศึกษ�ท�งทฤษฎีในบ�ง

            กรณีกลับแสดงนัยที่ตรงกันข้�ม  กล่�วคือบ�งระบบที่มีคว�มซับซ้อนกว่�เนื่องจ�กมีห่วงโซ่อ�ห�รย�วกว่�
            อ�จมีเสถียรภ�พหรือคว�มยืดหยุ่นน้อยกว่�และมีคว�มเปร�ะบ�งม�กกว่�
                     ก�รศึกษ�ด้�นคว�มซับซ้อน  คว�มหล�กหล�ยท�งชีวภ�พ  เสถียรภ�พ  และคว�มยืดหยุ่น

            ของระบบนิเวศ  จะให้ข้อมูลที่สำ�คัญยิ่งในก�รทำ�คว�มเข้�ใจคว�มยั่งยืนของระบบนิเวศและคุณภ�พดิน
            ผลก�รวิจัยคว�มสัมพันธ์ระหว่�งคว�มหล�กหล�ยท�งชีวภ�พกับผลิตภ�พของระบบนิเวศ      และคว�ม

            ทนท�นหรือคว�มยืดหยุ่นของระบบมีดังนี้
                     1) ผลิตภ�พของพืชในธรรมช�ติจ�กระบบนิเวศที่มีคว�มหล�กหล�ยท�งชีวภ�พสูง  จะมีค่�สูง
            กว่�ระบบที่มีคว�มหล�กหล�ยท�งชีวภ�พตำ่�

                     2) ในทุ่งหญ้�ที่มีคว�มหล�กหล�ยท�งชีวภ�พสูง  จะทนต่อคว�มแห้งแล้งและฟื้นคืนสู่สภ�พ
            เดิมเร็วกว่�ทุ่งหญ้�ที่ประกอบด้วยพืชเพียงไม่เกิน 4 ชนิด

                     3) ผลิตภ�พของทุ่งหญ้�    ก�รใช้ประโยชน์และก�รกักเก็บไนโตรเจนจะสูงกว่�ในทุ่งหญ้�ที่
            ประกอบด้วยพืชหล�กหล�ยชนิดกว่�
                     นอกจ�กนี้ผลก�รวิจัยยังแสดงว่�องค์ประกอบของชนิดพืชในชุมชีพพืช  ยังขึ้นอยู่กับชุมชีพของ

            สิ่งมีชีวิตในดินอีกด้วย  อย่�งไรก็ต�ม  เนื่องจ�กคว�มหล�กหล�ยของสิ่งมีชีวิตในดินบนสูงกว่�เมื่อเปรียบ
            เทียบกับส่วนที่อยู่เหนือผิวดิน  แต่เนื่องจ�กสิ่งมีชีวิตหล�ยชนิดในดินทำ�หน้�ที่เดียวกัน  จึงเชื่อว่�สิ่งมีชีวิต

            ที่อยู่นั้นมีปริม�ณเหลือเฟือ  และเพียงพอสำ�หรับหน้�ที่ทั้งหมดซึ่งมีอยู่  นอกจ�กนี้อันตรกิริย�ที่ซับซ้อน
            ระหว่�งสิ่งมีชีวิตในดินนับหมื่นชนิดในสเกลที่หล�กหล�ย  น่�จะมีคว�มจำ�เป็นสำ�หรับก�รกระตุ้นวัฏจักร
            ท�งชีวธรณีเคมี






                                                                สมาคมดินและปุ๋ยแห่งประเทศไทย     119
   118   119   120   121   122   123   124   125   126   127   128