Page 119 -
P. 119

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
                                                                        คุณภาพดินเพื่อการเกษตร





            กันก็ได้    อันตรกิริย�ในลักษณะก�รสร้�งภ�วะพึ่งพ�กันระหว่�งเชื้อร�กับร�กพืช  นอกจ�กจะมีอิทธิพล
            อย่�งม�กต่อก�รเปลี่ยนแปลงแทนที่ (succession) เพื่อสืบทอดเผ่�พันธุ์ของสองพวกนี้แล้ว  ยังเกี่ยวข้อง

            กับก�รเกิดดินอีกด้วย ทั้งนี้เนื่องจ�กกิจกรรมของจุลินทรีย์ดิน 3 ประก�ร ซึ่งผลที่ต�มม�คือโครงสร้�งดิน
            ดีขึ้น อันเป็นที่อยู่อ�ศัยที่ดีของจุลินทรีย์ คือ
                     1) เชื้อร�ไมคอร์ไรซ�ช่วยให้ร�กได้รับธ�ตุอ�ห�รจ�กดินม�กขึ้น (โดยเฉพ�ะอย่�งยิ่งฟอสฟอรัส)

                     2) โครงสร้�งดินดีขึ้นจ�กก�รเกี่ยวรัดของเส้นใยร�
                     3) ก�รสร้�งกลุ่ม  (colonization)  ของร�ในร�กพืช  ช่วยเพิ่มคว�มส�ม�รถในก�รแข่งขันของ

            ทั้งพืชและเชื้อร� ส่งเสริมก�รพัฒน�ของระบบร�กพืชและเพิ่มอินทรียวัตถุในดิน
                     อันตรกิริย�ระหว่�งพืชกับตัวย่อยสล�ยในดิน   มีบทบ�ทสำ�คัญในก�รดำ�รงไว้ซึ่งวัฏจักรธ�ตุ
            อ�ห�รในระบบนิเวศธรรมช�ติและระบบนิเวศเกษตร  กล่�วคือ  พืชสะสมส�รอินทรีย์ซึ่งเป็นซับสเทรต

            พลังง�นสูงไว้ในดิน และธ�ตุอ�ห�รก็ถูกปลดปล่อยออกม�จ�กกิจกรรมของตัวย่อยสล�ย เมื่อจุลินทรีย์ดิน
            ปลดปล่อยธ�ตุอ�ห�รออกม�แล้วก็นำ�บ�งส่วนไปใช้เพื่อก�รเจริญเติบโตของตัวมันเอง  ส่วนที่เหลือก็เป็น

            ประโยชน์ต่อพืช อย่�งไรก็ต�ม กิจกรรมดังกล่�วของจุลินทรีย์ดินมักถูกจำ�กัดด้วยปริม�ณส�รอินทรีย์ที่ดิน
            ได้รับ  ข้อมูลจ�กก�รวิจัยระบุว่�โครงสร้�งท�งเคมีของอินทรียวัตถุในดิน  ขึ้นอยู่กับอันตรกิริย�ระหว่�ง
            ชนิดของจุลินทรีย์ผู้ย่อยสล�ยกับแร่ธ�ตุในดิน  รวมทั้งองค์ประกอบท�งเคมีดั้งเดิมของส�รอินทรีย์ที่ดินได้

            รับด้วย  ในแง่โมเลกุลสัญญ�ณ  (signal  molecules)  ที่มีผลต่อก�รเจริญเติบโตของพืชนั้น  อันตรกิริย�
            ระหว่�งจุลินทรีย์ดินและพืชมีอิทธิพลในก�รผลิตส�รเคมีซึ่งเป็นสัญญ�ณเคมี (chemical signals)  เช่น

            ฮอร์โมน ค�ร์โบไฮเดรต กรดนิวคลีอิก คีเลตและโปรตีน แต่สภ�พท�งฟิสิกส์ของดินบ�งลักษณะก็มีบทบ�ท
            กระตุ้นก�รสร้�งฮอร์โมนบ�งชนิดอันเป็นโมเลกุลสัญญ�ณในพืชด้วย  (เช่น  กรดแอบซิสิก  ซึ่งควบคุมก�ร
            ปิดป�กใบเพื่อลดก�รค�ยนำ้�  เมื่อพืชเริ่มข�ดนำ้�เนื่องจ�กคว�มชื้นที่เป็นประโยชน์ในดินตำ่�  และ/หรือ

            อุณหภูมิของอ�ก�ศสูง)
                     ก�รจัดก�รศัตรูพืชแบบผสมผส�น (integrated pest management) จะได้ผลดีและลดคว�ม

            สูญเสียเนื่องจ�กศัตรูพืช    ห�กใช้คว�มรู้เรื่องอันตรกิริย�ระหว่�งพืช  (ซึ่งเป็นพืชปลูกและพืชอ�ศัย)  กับ
            ศัตรูพืช (เชื้อโรคหรือแมลง) และสภ�พแวดล้อม (สภ�พดินและภูมิอ�ก�ศ) ในขณะที่ก�รควบคุมศัตรูพืช
            แบบทั่วไปหรือวิธีสัญนิยม (conventional methods) เน้นก�รทำ�ล�ยล้�งศัตรูพืช (pest eradication)

            โดยไม่สนใจอันตรกิริย�เชิงนิเวศ  แม้แต่เชื้อร�ไมคอร์ไรซ�ที่อยู่กับร�กพืชยังมีผลต่อก�รแข่งขันระหว่�ง
            พืชปลูกบ�งชนิดกับวัชพืช  ดังนั้นนักวิช�ก�รเกษตรจึงต้องทำ�คว�มเข้�ใจเรื่องอันตรกิริย�เชิงนิเวศให้ม�ก

            และควรค้นห�ข้อเท็จจริง 2 ประก�ร คือ
                     1) คว�มเชื่อมโยงกันในเรื่องใดภ�ยในระบบนิเวศเกษตร ที่ทำ�ให้ระบบนี้ดำ�เนินไปได้อย่�งร�บรื่น
                     2) คว�มเชื่อมโยงใดที่ควรสร้�งขึ้นม�เสริม เพื่อให้ก�รจัดก�รระบบนิเวศเกษตรบรรลุเป้�หม�ย







                                                                สมาคมดินและปุ๋ยแห่งประเทศไทย     115
   114   115   116   117   118   119   120   121   122   123   124