Page 118 -
P. 118

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
          คุณภาพดินเพื่อการเกษตร





                   ก�รจัดก�รระบบนิเวศ  คือ  “ก�รจัดก�รเพื่อให้เกิดก�รขับเคลื่อนที่มีเป้�หม�ยชัดเจน  (explicit
          goals)  บริห�รกิจก�รด้วยนโยบ�ยที่มีร�ยละเอียดและวิธีก�รปฏิบัติที่ดี  ใช้ก�รติดต�มตรวจสอบและ

          ก�รวิจัยเป็นแนวท�งในก�รปรับปรุง  ดำ�เนินก�รทุกด้�นบนพื้นฐ�นของคว�มเข้�ใจเรื่องอันตรกิริย�และ
          กระบวนก�รของระบบนิเวศ  ทั้งนี้เพื่อคว�มยั่งยืนขององค์ประกอบ  โครงสร้�ง  และหน้�ที่ของระบบ
          นิเวศ” จ�กหลักก�รจัดก�รระบบนิเวศที่กล่�วม�นี้ มีคำ�ถ�มที่สำ�คัญ 2 ประก�รที่ต้องก�รคำ�ตอบ คือ

                   1) ในด้�นเทคนิคก�รจัดก�ร มนุษย์มีคว�มฉล�ดหลักแหลมและคว�มเข้�ใจอย่�งลึกซึ้ง เพียงพอ
          สำ�หรับจัดก�รระบบนิเวศหรือไม่ และ

                   2) เมื่อพิจ�รณ�ในด้�นหลักจริยธรรมที่เกี่ยวข้อง  มนุษย์มีสิทธิที่จะเข้�ไปจัดก�รระบบนิเวศ
          หรือไม่
                   ในประเด็นแรกอ�จกล่�วได้ว่�มนุษย์ยังมีคว�มเข้�ใจเรื่องระบบนิเวศอย่�งผิวเผินและไม่ถ่องแท้

          ซึ่งเห็นได้จ�กคว�มล้มเหลวในก�รปลูกป่�   และก�รระบ�ดของศัตรูพืชอย่�งม�กในพื้นที่เกษตรกรรม
          ส่วนประเด็นที่สองคือด้�นจริยธรรมนั้น มนุษย์ยังมีคว�มอ่อนด้อยอยู่ม�ก เนื่องจ�กนิยมใช้อคตินำ�ในก�ร

          จัดก�รระบบนิเวศ  โดยเห็นแก่ผลประโยชน์ของมนุษย์ด้วยกันเองเพียงด้�นเดียว  จึงมีข้อเสนอว่�ก�รดูแล
          ปัญห�ด้�นสิ่งแวดล้อมที่ดีที่สุด  ควรใช้หลักก�รด้�นคุณค่�ของมนุษย์เข้�ม�ดำ�เนินก�ร  ม�กกว่�ใช้คว�มรู้
          ท�งเทคนิคเพียงด้�นเดียว   ทั้งเชื่อว่�มุมมองด้�นระบบนิเวศอ�จช่วยให้มีคว�มเข้�ใจอย่�งลึกซึ้งในก�ร

          จัดก�รระบบนิเวศและก�รประเมินคุณค่�ของระบบนิเวศอย่�งถูกต้อง
               7.3 ก�รจัดก�รระบบนิเวศบนพื้นฐ�นคว�มเข้�ใจอันตรกิริย�

                   ก�รจัดก�รระบบนิเวศเกษตรและคุณภ�พดินให้เกิดผลดีได้  ต้องอ�ศัยคว�มรู้และคว�มเข้�ใจ
          เรื่องอันตรกิริย� หรือคว�มเชื่อมต่อของส�รสนเทศระหว่�งองค์ประกอบในระบบนิเวศ แม้ว่�ในปัจจุบันนี้
          จะมีคว�มก้�วหน้�อย่�งม�กในด้�นก�รเพิ่มผลผลิตพืช  แต่ไม่ควรมองข้�มแนวคิดเชิงระบบนิเวศ  สำ�หรับ

          มุมมองต่อคุณภ�พดินในด้�นระบบนิเวศนั้น ถือว่�สิ่งซึ่งควรเข้�ใจเป็นพื้นฐ�นคือ เรื่องอันตรกิริย�ระหว่�ง
          พืช จุลินทรีย์ และองค์ประกอบของดิน แต่นักวิช�ก�รบ�งกลุ่มอ�จละเลยในประเด็นนี้ เช่น นักผสมพันธุ์

          พืชซึ่งมีแนวโน้มที่จะลัดขั้นตอนของธรรมช�ติ  มองข้�มอันตรกิริย�ระหว่�งพืชกับจุลินทรีย์ดินที่อ�จเป็น
          ประโยชน์  โดยคัดเลือกพืชโดยไม่คำ�นึงถึงไมคอร์ไรซ�ซึ่งอ�ศัยอยู่กับร�ก  อันที่จริงอันตรกิริย�ระหว่�ง
          สิ่งมีชีวิตด้วยกัน มีทั้งที่แข่งขันกันและเกื้อหนุนหรือมีภ�วะพึ่งพ�กัน ส่วนอันตรกิริยะระหว่�งสิ่งมีชีวิตกับ

          สิ่งแวดล้อมท�งก�ยภ�พก็มีสองด้�นเช่นเดียวกัน
                   แม้ว่�หลักวิวัฒน�ก�รของด�ร์วินจะเน้นคว�มสำ�คัญของก�รแข่งขันระหว่�งสิ่งมีชีวิตต่�งชนิด

          แต่หลักก�รว่�ด้วยภ�วะพึ่งพ�กันก็มีคว�มสำ�คัญในหล�ยระบบ ข้อเท็จจริงบ�งอย่�งที่ปร�กฏในธรรมช�ติ
          คือ คว�มส�ม�รถของสิ่งมีชีวิตในก�รปรับตัวให้เข้�กับสภ�พแวดล้อม หรือก�รปรับสภ�พแวดล้อมรอบตัว
          ให้เหม�ะกับมัน  ซึ่งล้วนเป็นคว�มส�ม�รถที่สำ�คัญของสิ่งมีชีวิต  และนำ�ไปสู่คว�มสำ�เร็จของก�รแข่งขัน

          เพื่อคว�มอยู่รอด อย่�งไรก็ต�ม ก�รดิ้นรนเพื่อคว�มอยู่รอดของสิ่งมีชีวิตต่�งชนิด อ�จนำ�ไปสู่ก�รร่วมมือ




      114        สมาคมดินและปุ๋ยแห่งประเทศไทย
   113   114   115   116   117   118   119   120   121   122   123