Page 120 -
P. 120

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
          คุณภาพดินเพื่อการเกษตร





          8. เสถียรภ�พ คว�มหล�กหล�ยและคว�มซับซ้อนของระบบนิเวศ
                   คว�มสัมพันธ์ระหว่�งคว�มซับซ้อนของโครงสร้�ง  (structural  complexity)  คว�มหล�ก

          หล�ยท�งชีวภ�พ (biodiversity) และเสถียรภ�พ (stability) ของระบบนิเวศ เกิดจ�กอันตรกิริย� หรือ
          ก�รแลกเปลี่ยนส�รสนเทศระหว่�งองค์ประกอบแต่ละส่วนของระบบ  และก�รที่ระบบนิเวศพัฒน�จนได้
          ชุมชีพขั้นสุด (climax community) นั้น ถือว่�เป็นดอกผลหรือคว�มสำ�เร็จของก�รเปลี่ยนแปลงแทนที่

          เชิงนิเวศ  (ecological  succession)  ระหว่�งช่วงเวล�ที่มีก�รสืบทอดดังกล่�ว  ได้มีอันตรกิริย�ระหว่�ง
          องค์ประกอบต่�งๆ อันก่อให้เกิดคว�มเชื่อมโยงระหว่�งกันจนนำ�ไปสู่ภ�วะธำ�รงดุล (homeostasis) โดยที่

          ผลด้�นเสริมสร้�งส�ม�รถหักล้�งผลด้�นบั่นทอนได้  แม้ในเวล�ต่อม�เสถียรภ�พของระบบจะดำ�รงอยู่ได้
          เนื่องจ�กส�ม�รถต่อต้�นกลไกที่บั่นทอนเสถียรภ�พที่มีอยู่นั้น  แต่ระบบดังกล่�วอ�จย้อนกลับไปสู่สภ�วะ
          ไร้เสถียรภ�พอีกครั้งหนึ่ง  ห�กภ�วะสมดุลหมดสิ้นลงไป  สำ�หรับคว�มต้�นท�น  (resistance)  หม�ยถึง

          คว�มส�ม�รถของระบบที่จะต่อต้�นแรงกระทบ  ก่อนที่ภ�วะสมดุลภ�ยในระบบจะเสียไป  ส่วนคว�ม
          ยืดหยุ่น  (resilience)  หม�ยถึงขีดคว�มส�ม�รถและเวล�ที่ใช้เพื่อยับยั้งก�รเปลี่ยนแปลง  ก่อนที่จะถูก

          บั่นทอนจนระบบนิเวศกลับไปอยู่ในสภ�พเดิมเมื่อตอนเริ่มต้น
               8.1  สมดุลและพลวัตของระบบนิเวศ
                   ก�รทำ�ล�ยอย่�งสร้�งสรรค์  (creative  destruction)  หม�ยคว�มว่�  “สิ่งใหม่ฆ่�สิ่งเก่�

          (something  new  kills  something  old)”  เป็นปร�กฏก�รณ์ที่สำ�คัญอย่�งหนึ่งของสังคมที่ทำ�ให้มี
          ก�รพัฒน�ในทิศท�งใหม่ เช่น อุตส�หกรรมคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล (personal computer) ซึ่งนำ�โดย

          Microsoft  และ  Intel  เป็นเหตุให้อุตส�หกรรมผลิตเมนเฟรมคอมพิวเตอร์  (mainframe  computer)
          ล่มสล�ย     และทั่วโลกยอมรับว่�คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลเป็นนวัตกรรมแห่งศตวรรษ   ในกรณีนี้ก�ร
          สร้�งสรรค์คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล  เป็นส�เหตุที่ทำ�ให้เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ซึ่งเคยเป็นประโยชน์อย่�ง

          ม�กในง�นสำ�คัญของโลก  เช่น  โครงก�รส่งย�นอวก�ศไปลงที่ดวงจันทร์  กล�ยเป็นสิ่งที่ล้�สมัยและไม่มี
          ใครต้องก�รอีกแล้ว ก�รทำ�ล�ยอย่�งสร้�งสรรค์ก็เป็นปร�กฏก�รณ์ที่เกิดขึ้นกับระบบนิเวศได้เช่นเดียวกัน

                   ก�รเปลี่ยนแปลงแทนที่  (succession)  เป็นอีกปร�กฏก�รณ์หนึ่งของระบบนิเวศ  เนื่องจ�ก
          ระบบนิเวศมิใช่สิ่งต�ยตัว  แต่เปลี่ยนได้เมื่อเวล�เปลี่ยนไป  ดังตัวอย่�งก�รเปลี่ยนแปลงแทนที่บนพื้นหิน
          ซึ่งไม่มีพืชอยู่เลย (ภ�พที่ 4.6) เมื่อเวล�ผ่�นไปน�นๆ จะมีปร�กฏก�รณ์ดังนี้

                   1) บริเวณพื้นผิวของแผ่นหินที่มีคว�มชื้นสมำ่�เสมอจะเริ่มมีไลเค็น  (lichens  -  ส�หร่�ยและ
          เชื้อร�อยู่ร่วมกันแบบพึ่งพ�กัน)  เจริญเติบโตเป็นกลุ่ม  โดยส�หร่�ยสังเคร�ะห์แสง  ส่วนเชื้อร�ดูดนำ้�และ

          ธ�ตุอ�ห�ร  รวมทั้งเก�ะติดกับก้อนหิน  เชื้อร�สนับสนุนให้ส�หร่�ยสังเคร�ะห์แสงเพื่อสร้�งส�รอินทรีย์
          ม�ใช้ประโยชน์ร่วมกัน  จึงเพิ่มมวลชีวภ�พบนแผ่นหินที่เคยว่�งเปล่�  ต่อจ�กนั้นมอสส์ก็เจริญบนไลเค็น
          อีกต่อหนึ่ง เมื่อเวล�ผ่�นไปผิวแผ่นหินจะค่อยๆ กร่อนกล�ยเป็นชั้นดินบ�งๆ

                   2) พืชที่จัดว่�เป็นผู้บุกเบิก (pioneers) คือ หญ้�และเฟิร์น ซึ่งเจริญบนชั้นดินบ�งๆ และร�ก




      116        สมาคมดินและปุ๋ยแห่งประเทศไทย
   115   116   117   118   119   120   121   122   123   124   125