Page 125 -
P. 125

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
                                                                        คุณภาพดินเพื่อการเกษตร




            ต�ร�งที่ 4.1  ก�รเปรียบเทียบระบบนิเวศธรรมช�ติกับระบบนิเวศเกษตร


                                                                      ระบบนิเวศเกษตร
                                           ระบบนิเวศ
                     ข้อเปรียบเทียบ                                   ปลูกพืชหมุนเวียน
                                            ธรรมช�ติ    เกษตรธรรมช�ติ  หรือเหลื่อมฤดู  ปลูกพืชเชิงเดี่ยว


              คว�มหล�กหล�ยท�งชีวภ�พ         ม�กที่สุด        ม�ก         ป�นกล�ง         น้อย

              คว�มซับซ้อนของระบบ            ม�กที่สุด        ม�ก         ป�นกล�ง         น้อย


              เสถียรภ�พของระบบ              ม�กที่สุด        ม�ก         ป�นกล�ง         น้อย


              คว�มต้�นท�นต่อผลกระทบ         ม�กที่สุด        ม�ก         ป�นกล�ง         น้อย


              คว�มยืดหยุ่นของระบบ           ม�กที่สุด        ม�ก         ป�นกล�ง         น้อย

              ก�รจัดก�รและปัจจัยที่ต้องเสริม   น้อย        ป�นกล�ง         ม�ก          ม�กที่สุด
              เพื่อให้ระบบมีเสถียรภ�พ




                     ในประเทศกำ�ลังพัฒน�บ�งประเทศ  มีก�รทำ�ไร่เลื่อนลอยด้วยก�รปลูกพืชหล�ยชนิด  (เช่น

            มันสำ�ปะหลัง ถั่ว ถั่วลิสง ข้�ว และข้�วโพด) ในพื้นที่ซึ่งแผ้วท�งเป็นหย่อมในป่�ธรรมช�ติ ปลูกประม�ณ
            2-5 ปีแล้วทิ้งร้�งไปหล�ยๆ ปีเพื่อให้มีก�รฟื้นตัวของสภ�พพื้นที่ขึ้นม�ใหม่ (soil rejuvenates) และเกิดมี

            คว�มซับซ้อนเชิงพื้นที่และเวล�อีกครั้งหนึ่ง อย่�งไรก็ต�ม วิธีนี้ไม่ส�ม�รถทำ�ได้อีกต่อไปเนื่องจ�กเป็นก�ร
            ทำ�ล�ยป่�และผิดกฎหม�ย
                     ก�รจัดก�รด้�นก�รเพ�ะปลูก อ�จมีอิทธิพลต่อคว�มหล�กหล�ยท�งชีวภ�พของสิ่งมีชีวิตในดิน

            เช่น ก�รย่อยสล�ยของส�รอินทรีย์ในก�รปลูกพืชที่ไม่ไถพรวน มักเกิดจ�กบทบ�ทของเชื้อร�และไส้เดือน
            แต่ถ้�เตรียมดินโดยไถพรวนต�มปรกติต�มแบบแผน จะมีแบคทีเรียและไส้เดือนฝอยอยู่ม�ก ก�รคงคว�ม

            หล�กหล�ยท�งชีวภ�พไว้จะช่วยประกันว่�คว�มเชื่อมโยงระหว่�งพืช  สิ่งมีชีวิตในดิน  และแร่ธ�ตุต่�งๆ
            จะมีคว�มร�บรื่นและไม่บกพร่อง  ในกรณีของก�รปลูกป่�ในบ�งพื้นที่อ�จมีคว�มล้มเหลว  ส�เหตุหนึ่งม�
            จ�กก�รสูญห�ยไปของเชื้อร�ไมคอร์ไรซ� ซึ่งเป็นตัวก�รที่เชื่อมโยงร�กพืชกับดินไว้อย่�งแนบแน่น สำ�หรับ

            พืชป่�และสัตว์ป่�ในระบบนิเวศเกษตรอ�จลดประช�กรและกิจกรรมลง      ห�กถูกรบกวนท�งก�ยภ�พ
            (เช่น ก�รไถพรวน) ก�รใช้ส�รเคมี (เช่น ส�รฆ่�ศัตรูพืช) และท�งชีวภ�พ (เช่น พืชที่ปกคลุมดิน) แต่ก�ร

            ปรับสภ�พแวดล้อมบ�งอย่�ง  เช่น  ปลูกพืชหมุนเวียน  ปลูกพืชร่วมกันหรือเหลื่อมเวล�  และก�รไถพรวน
            แบบอนุรักษ์  จะช่วยปกป้องและรักษ�ถิ่นที่อยู่ของสิ่งมีชีวิตเหล่�นั้นให้คงสภ�พที่ดีในภูมิทัศน์ของระบบ
            นิเวศเกษตร



                                                                สมาคมดินและปุ๋ยแห่งประเทศไทย     121
   120   121   122   123   124   125   126   127   128   129   130