Page 130 -
P. 130

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
          คุณภาพดินเพื่อการเกษตร




          (ability)  ของดินหรือระบบนิเวศ  สำ�หรับก�รกระทำ�หรือปฏิบัติหน้�ที่เฉพ�ะบ�งอย่�ง  และมนุษย์เป็น
          ผู้กำ�หนดหน้�ที่ดังกล่�ว  ดังนั้นหน้�ที่ซึ่งระบุไว้จึงม�จ�กลัทธิหรือค่�นิยมของมนุษย์  จะว่�ไปแล้วค่�นิยม

          ที่เกี่ยวข้องกับหลักก�รดังกล่�ว  อ�จมีคว�มสำ�คัญเท่�กับหรือม�กกว่�เทคนิควิทย�ที่ได้พัฒน�และใช้เป็น
          ดรรชนีวัดเพื่อนำ�ไปสู่วิธีจัดก�รระบบนิเวศเสียอีก สำ�หรับหลักก�รของคุณภ�พดินและสุขภ�พระบบนิเวศ

          นั้น แม้จะยังไม่ค่อยแน่นอนหรือยังคลุมเครืออยู่บ้�ง แต่ก็ยังเป็นหลักก�รที่ใช้วิทย�ศ�สตร์ม�ผสมผส�นให้
          สอดคล้องต้องกันกับค่�นิยมท�งสังคม เพื่อนำ�ม�ใช้จัดก�รดินและระบบนิเวศให้ได้ผลดี
               9.3 สุขภ�พวัดคว�มพอเหม�ะพอดี

                   สำ�หรับก�รประเมินสุขภ�พระบบนิเวศนั้น  ดรรชนีชี้วัด  (indices)  ที่แสดงว่�ระบบนิเวศอยู่
          ในภ�วะปรกติหรือสภ�พคว�มเครียด  (stress)    ได้  ย่อมเป็นดรรชนีที่ส�ม�รถใช้เป็นแนวท�งตรวจสอบ

          จนเข้�ใจสภ�พก�รทำ�หน้�ที่ของระบบนิเวศนั้น  และนำ�ไปสู่ก�รจัดก�รที่เหม�ะสม  เช่นเดียวกับก�รวัด
          อุณหภูมิร่�งก�ยและคว�มดันโลหิต  ที่แสดงสถ�นะภ�พท�งสรีระบ�งประก�รของร่�งก�ยนั่นเอง  อีก
          นัยหนึ่งอ�จมองว่�ชุดของดรรชนีต่�งๆ  เป็นเครื่องมือของมนุษย์ผู้ควบคุม  จะนำ�ม�ใช้เพื่อห�ท�งควบคุม

          ระบบนิเวศ  เนื่องจ�กก�รตรวจสุขภ�พหรือสภ�พของท�งสรีระ  จะมุ่งเน้นก�รตรวจสอบเฉพ�ะก�รทำ�
          หน้�ที่และกระบวนก�รสำ�คัญ  ซึ่งบ่งชี้ถึงคว�มอยู่รอดของสิ่งมีชีวิตเท่�นั้น  หลักก�รท�งนิเวศวิทย�ซึ่ง

          อ�ศัยพื้นฐ�นท�งฟิสิกส์ เคมี และชีววิทย�จึงมีคว�มสำ�คัญและต้องนำ�ม�ใช้ ในทำ�นองเดียวกันปฐพีวิทย�
          ก็มีส่วนสำ�คัญในก�รประเมินสภ�พของระบบนิเวศ  บอกให้ทร�บถึงก�รทำ�หน้�ที่ของระบบนิเวศ  (ได้แก่
          ก�รเปลี่ยนแปลงสส�รและพลังง�น) และโครงสร้�ง (เช่น ก�รสร้�งคว�มเชื่อมโยง ก�รก่อเกิดเป็นรูปร่�ง

          และคว�มหล�กหล�ยท�งชีวภ�พ)  แทนที่จะเพ่งเล็งเฉพ�ะก�รผลิตพืชเพียงอย่�งเดียว  ในก�รประเมิน
          สุขภ�พของดินในระบบย่อย  และคว�มเชื่อมโยงระหว่�งดินกับสุขภ�พระบบนิเวศนั้น  ก�รใช้ชุดของ

          ดรรชนีชี้วัดจะให้ผลดีกว่�ก�รใช้ดรรชนีใดเพียงอย่�งเดียว  นอกจ�กนั้นยังควรจัดลำ�ดับดรรชนีแบบต่�งๆ
          ม�ใช้อย่�งเหม�ะสมอีกด้วย  กล่�วคือดรรชนีชุดหนึ่งเหม�ะสำ�หรับก�รวัดส�เหตุของคว�มล้มเหลวในก�ร
          ทำ�หน้�ที่ ในขณะที่ดรรชนีอีกชุดหนึ่งมีประโยชน์ในก�รวัดสุขภ�พโดยรวม และช่วยชี้ให้เห็นว่�ระบบนิเวศ

          กำ�ลังอยู่ในภ�วะคว�มเสี่ยงที่จะล้มเหลวหรือไม่
                   อันที่จริงได้มีผู้เสนอนิย�มของสุขภ�พระบบนิเวศไว้หล�ยแนวท�ง  หนึ่งในแนวท�งนั้นม�จ�ก

          ก�รปรับปรุงโดยใช้ผลจ�กก�รทดลองด้�นก�รจัดก�รระบบนิเวศ  แนวท�งนี้ผสมผส�นทั้งเรื่องหน้�ที่ของ
          ระบบนิเวศกับกับค่�นิยมท�งสังคม  (social  values)  เข้�ด้วยกัน  แล้วนิย�มว่�  “ระบบนิเวศสุขภ�พดี
          (healthy  ecosystem)”  เป็นระบบที่ปลอดจ�กอันตร�ย  มีเสถียรภ�พและคว�มยั่งยืน  กล่�วคือระบบ

          นิเวศนั้นต้องรักษ�สภ�พก�รรวมตัวขององค์ประกอบได้ดี ดำ�เนินกระบวนก�รและทำ�หน้�ที่อย่�งเอกเทศ
          (autonomy)  ไปได้เรื่อยๆ  ทั้งส�ม�รถดำ�รงสภ�พคว�มยืดหยุ่นเมื่อกระทบคว�มคว�มเครียดได้ดีด้วย

          ส่วนก�รนิย�มที่เน้นคว�มยั่งยืนของสุขภ�พทุ่งหญ้� (rangeland health) ระบุว่� “สุขภ�พทุ่งหญ้� คือ
          ระดับขั้น  (degree)  ของคว�มมั่นคงหรือบูรณภ�พ  (integrity)  ของดินและกระบวนก�รเชิงนิเวศของ
          ระบบนิเวศทุ่งหญ้�นั้นมีคว�มยั่งยืนเพียงใด”  ร�ยง�นก�รศึกษ�จะแบ่งแยกให้เห็นระหว่�งคว�มแตกต่�ง



      126        สมาคมดินและปุ๋ยแห่งประเทศไทย
   125   126   127   128   129   130   131   132   133   134   135