Page 133 -
P. 133

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
                                                                        คุณภาพดินเพื่อการเกษตร




                     สำ�หรับก�รเกษตรเชิงพ�ณิชย์หรืออุตส�หกรรม  มีแนวโน้มที่จะใช้สิ่งเข้�ชนิดพลังง�นสูงเพื่อ

            รักษ�เสถียรภ�พของระบบ  แทนที่จะอ�ศัยอันตรกิริย�ระหว่�งองค์ประกอบและกระบวนก�ร  เพื่อให้มี
            เสถียรภ�พดังที่เกิดกับระบบนิเวศธรรมช�ติ  แต่ก�รใส่สิ่งเข้�ชนิดพลังง�นสูงก็ทำ�ให้เสี่ยงต่อก�รเกิดภ�วะ

            อันไม่พึงประสงค์บ�งประก�ร เช่น ภ�วะมลพิษ สำ�หรับวัฏจักรไนโตรเจนระดับโลก (global N cycle) นั้น
            ปริม�ณปุ๋ยไนโตรเจนซึ่งส่วนใหญ่ผลิตได้จ�กอุตส�หกรรมและนำ�ไปใส่ในดิน  สูงกว่�ปริม�ณที่ตรึงได้โดย
            ระบบนิเวศธรรมช�ติ ก�รเผ�เชื้อเพลิงฟอสซิล รวมทั้งก�รผลิตและก�รใช้ปุ๋ยไนโตรเจนได้เพิ่มคว�มเข้มข้น

            ของ CO  ในบรรย�ก�ศ และก�รเพิ่มไนโตรเจนในดินโดยไม่ระมัดระวัง อ�จก่อให้เกิดสภ�วะส�รอ�ห�ร
                    2
            ม�กเกิน  (eutrophication)  ในนิเวศมณฑลอันเป็นผลสืบเนื่องจ�กมนุษย์ใช้ทรัพย�กรและพลังง�นอย่�ง

            ไม่เหม�ะสม  สถ�นก�รณ์ดังกล่�วอ�จเป็นเหตุให้สิ่งมีชีวิตบ�งชนิดสูญพันธุ์และก�รทำ�หน้�ที่ของระบบ
            นิเวศเสียไป
                     สำ�หรับอิทธิพลของมนุษย์ที่แผ่ไปไกลทั่วระบบนิเวศ  (ในมิติของทั้งเวล�และพื้นที่)  อ�จเป็น

            อุปสรรคขัดขว�งก�รประเมินคุณภ�พดินและสุขภ�พระบบนิเวศ  เนื่องจ�กไม่มีระบบนิเวศธรรมช�ติให้
            ใช้เป็นจุดเทียบหรืออ้�งอิงม�ตรฐ�น  เหตุก�รณ์ในอดีตเช่นก�รเผ�ป่�ของมนุษย์ในยุคก่อนประวัติศ�สตร์

            ยังมีอิทธิพลต่อรูปร่�งของระบบนิเวศจนถึงปัจจุบัน ก�รจัดก�ร (บ่อยครั้งโดยไม่ตั้งใจ) ต่อบริเวณซึ่งเรียก
            ว่�  “พื้นที่ธรรมช�ติ”  เช่น  ก�รระงับหรือควบคุมไฟป่�และก�รรุกลำ้�ของมนุษย์เข้�ไปในวนอุทย�น
            เป็นก�รลดพื้นที่ของระบบนิเวศที่ไร้อิทธิพลของมนุษย์ให้เหลือน้อยลงไปอีก  ข้อสังเกตเหล่�นี้ชี้ให้เห็นว่�

            โดยข้อเท็จจริงแล้ว มนุษย์เป็นส่วนหนึ่งของระบบนิเวศ และยุทธศ�สตร์เพื่อก�รจัดก�รที่จะนำ�ไปสู่คว�ม
            สำ�เร็จไม่ควรจะมองข้�มคว�มสำ�คัญในค่�นิยมของมนุษย์  (human  values)  และอันตรกิริย�ระหว่�ง

            มนุษย์กับองค์ประกอบอื่นๆ ของระบบนิเวศ
                 9.5 ดรรชนีสเกลกว้�ง
                     ดรรชนีของคุณภ�พดินมีอยู่หล�ยดรรชนี  แต่มีน้อยที่ใช้ประเมินหน้�ที่ในสเกลของระบบนิเวศ

            ห�กจะให้ก�รประเมินมีคว�มสมบูรณ์ นอกจ�กจะประเมินหน้�ที่เฉพ�ะอย่�งของดินแล้ว ในทัศนมิติของ
            ระบบนิเวศยังต้องประเมินหน้�ที่ทั่วไปด้วย

                     สำ�หรับดรรชนีที่ใช้ในก�รประเมินคุณภ�พดินและสุขภ�พระบบนิเวศ  ได้ประมวลไว้ในต�ร�งที่
            4.3 ซึ่งแบ่งเป็น 3 แนวท�ง ดังนี้
                     แนวท�งที่ 1 เป็นกลุ่มดรรชนีที่รวมอันตรกิริย�ระหว่�งชีวช�ติกับดินไว้ด้วยกันและเป็นแนวท�ง

            ที่ส�ม�รถนำ�ม�ปรับใช้ได้สำ�หรับผลิตภ�พปฐมภูมิสุทธิซึ่งมีค่�สูง   ในขณะที่พลังง�นอันเป็นสิ่งเข้�จ�ก
            ภ�ยนอกนั้นตำ่�  วัดคว�มส�ม�รถของระบบในก�รกักเก็บพลังง�นจ�กแสงอ�ทิตย์ได้  นอกเหนือจ�ก

            พลังง�นแสงอ�ทิตย์แล้วพลังง�นอันเป็นสิ่งเข้�จ�กภ�ยนอกในรูปของปุ๋ย  ก�รชลประท�น  ก�รไถพรวน
            และก�รใช้ส�รฆ่�ศัตรูพืชก็มีคว�มจำ�เป็น   เพื่อทำ�ให้ส�ม�รถเก็บเกี่ยวผลผลิตอ�ห�รและเส้นใยออก
            ไปจ�กระบบนิเวศเกษตรได้เรื่อยๆ  รวมทั้งก�รรักษ�ระดับอินทรียวัตถุในดินและส�รชีว  -  ธรณี  -  เคมี

            (biogeochemical substances) ให้เพียงพอเสมอ ก�รมีเสถียรภ�พของระดับอินทรียวัตถุในดิน แสดงว่�


                                                                สมาคมดินและปุ๋ยแห่งประเทศไทย     129
   128   129   130   131   132   133   134   135   136   137   138