Page 131 -
P. 131
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
คุณภาพดินเพื่อการเกษตร
1) ระหว่�งทุ่งหญ้�ที่สมบูรณ์ กับทุ่งหญ้�ที่มีภ�วะเสี่ยงที่จะเสื่อมโทรม ซึ่งใช้เส้นเตือนภัยล่วงหน้� (early
warning line) เป็นเส้นแบ่ง และ 2) ระหว่�งทุ่งหญ้�ที่มีภ�วะเสี่ยงกับทุ่งหญ้�ที่ไม่สมบูรณ์ โดยใช้เส้นขีด
เริ่มเปลี่ยน (threshold) ด้�นสุขภ�พทุ่งหญ้�เป็นเส้นแบ่ง
สำ�หรับหลักก�รพิจ�รณ�คุณภ�พดิน คุณภ�พระบบนิเวศ สุขภ�พดิน หรือสุขภ�พระบบนิเวศ
คือวินิจฉัยคว�มยั่งยืน (sustainability) บูรณภ�พ (integrity) คว�มยืดหยุ่น (resilience) และคว�ม
เปร�ะ (fragility) ของระบบนิเวศนั้น นอกจ�กนี้อ�จมีก�รพิจ�รณ�ในลักษณะเหม�รวมให้ครอบคลุม 3
เรื่องนี้เข้�ด้วยกันคือ คว�มเหม�ะสม (fitness) หน้�ที่ (function) และคว�มยั่งยืน หลักก�รดังกล่�วจะ
มีคุณค่�ในท�งปฏิบัติ ห�กนำ�ม�ใช้แล้วช่วยสร้�งแนวท�งก�รจัดก�รระบบนิเวศ ให้คงสภ�พโครงสร้�ง
และหน้�ที่ ในขณะเดียวกันก็บรรลุเป้�หม�ยเชิงสังคมด้วย ก�รประเมินคุณภ�พหรือสุขภ�พนั้น ต้องมี
ม�ตรฐ�นที่ใช้เปรียบเทียบหรือจุดม�ตรฐ�นเปรียบเทียบ (benchmark) เพื่อใช้เทียบเคียงกับค่�วัดเกี่ยว
กับหน้�ที่ของระบบที่วัดได้ อย่�งไรก็ต�ม ถึงแม้ว่�ปัจจุบันจะยังไม่ข้อสรุปที่แน่ชัดว่�องค์ประกอบของ
คุณภ�พดินที่ดี หรือสุขภ�พที่ดีของระบบนิเวศเป็นอย่�งไร แต่ก็ต้องเริ่มทำ�คว�มเข้�ใจเรื่องดังกล่�วก่อนที่
จะดำ�เนินก�รประเมิน
9.4 ระบบนิเวศธรรมช�ติกับระบบนิเวศเกษตร
จุดม�ตรฐ�นเปรียบเทียบที่ใช้กันอย่�งกว้�งขว�ง ในก�รประเมินสุขภ�พสัมพัทธ์ (relative
health) หรือคุณภ�พสัมพัทธ์ (relative quality) ของดินเพื่อก�รเกษตร คือ ดินในสภ�พธรรมช�ติหรือ
ดินในระบบนิเวศที่ไม่ถูกรบกวน ซึ่งอยู่ในพื้นที่ใกล้เคียงกันหรือกำ�เนิดม�จ�กวัตถุต้นกำ�เนิดแบบเดียวกัน
อยู่ในภูมิประเทศและมีภูมิอ�ก�ศคล้�ยกันด้วย คว�มแตกต่�งระหว่�งระบบนิเวศเกษตรกับระบบนิเวศ
ธรรมช�ติแสดงไว้ในต�ร�งที่ 4.2 สำ�หรับผู้สนับสนุนให้ทำ�ก�รเกษตรเชิงนิเวศ แนะนำ�ว่�ระบบธรรมช�ติ
ในแต่ละพื้นที่เป็นโครงสร้�งแบบจำ�ลองที่เหม�ะสมสำ�หรับระบบนิเวศเกษตร ส่วนระบบนิเวศธรรมช�ติ
นั้นบ�งกรณีถือว่�ได้เข้�สู่สภ�พกึ่งสมดุล (quasi-equilibrium) อันเป็นสภ�พซึ่งปริม�ณของมวลส�รที่
เพิ่มขึ้นอันเป็นผลผลิตเท่�กับมวลส�รซึ่งมีก�รสูญเสียอันเกิดจ�กก�รห�ยใจ ในขณะที่ระบบนิเวศเกษตร
นั้นส�ม�รถคงสถ�นก�รณ์ของก�รเปลี่ยนแปลงแทนที่แบบทุติยภูมิไปได้เรื่อยๆ (perpetual secondary
succession) (secondary succession - ก�รเปลี่ยนแปลงแทนที่ภ�ยหลังเกิดภัยพิบัติ เช่น ไฟป่� หรือ
ป่�ที่ถูกทำ�ล�ย ซึ่งมีพืชอยู่บ้�ง ส่วน primary succession - ก�รเปลี่ยนแปลงแทนที่ซึ่งเริ่มต้นจ�กพื้นที่
ว่�งเปล่� เช่น แผ่นหินหรือพื้นทร�ย) อันเป็นสภ�พซึ่งผลผลิตมีปริม�ณสูงกว่�ก�รห�ยใจ จึงมีผลผลิต
ให้เก็บเกี่ยวและนำ�ออกม�จ�กระบบได้ ดังนั้นโดยพื้นฐ�นแล้วก�รทำ�หน้�ที่ของระบบนิเวศเกษตรจึง
แตกต่�งจ�กระบบนิเวศธรรมช�ติ ท�งเลือกในก�รทำ�ง�นมีอยู่สองท�ง คือ จัดแบ่งภูมิทัศน์ซึ่งแตกต่�งกัน
อย่�งชัดเจนระหว่�งระบบนิเวศทั้งสองแบบ โดยคำ�นึงถึงเป้�หม�ยบ�งอย่�งซึ่งมีคว�มเฉพ�ะเจ�ะจง (เช่น
สงวนไว้เป็นพื้นที่ธรรมช�ติอันสวยง�มจนถึงก�รใช้เพื่อผลิตอ�ห�ร) หรือจัดก�รแต่ละระบบนิเวศเพื่อให้
บรรลุเป้�หม�ยหล�ยๆ อย่�ง (เช่น จัดก�รให้มีบริก�รจ�กระบบได้หล�กหล�ย)
สมาคมดินและปุ๋ยแห่งประเทศไทย 127