Page 104 -
P. 104
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
คุณภาพดินเพื่อการเกษตร
(4) ก�รควบคุมด้วยส�รเคมี (ammensalism หรือ antibiosis) คือ คว�มสัมพันธ์ที่เกิดขึ้น
เมื่อสิ่งมีชีวิตชนิดหนึ่งขับส�รเคมีออกม�ทำ�อันตร�ยต่อสิ่งมีชีวิตอื่น ส�รที่ขับออกม�เรียกว่�ส�รปฏิชีวนะ
(antibiotic)
3) ภ�วะอยู่ร่วมกันอย่�งสันติ (symbiosis) คือก�รมีชีวิตอยู่ด้วยกันของสิ่งมีชีวิตต่�งชนิด
(the living together of unlike organisms) คำ� symbiosis มีคว�มหม�ยกว้�ง เพร�ะม�จ�กร�กศัพท์
ภ�ษ�กรีก 2 คำ� คือ sym แปลว่�ด้วยกัน (together) และ biosis แปลว่�ซึ่งมีชีวิต (living) จึงเป็นคว�ม
สัมพันธ์ที่เกิดขึ้นจ�กก�รอยู่ร่วมกันอย่�งสันติ ไม่เป็นอันตร�ยต่อกันและอ�จเกื้อกูลกันด้วย ซึ่งมี 4 แบบ
เรียงจ�กแบบที่ไม่มีคว�มเกื้อกูลกันไปห�แบบที่เอื้อประโยชน์ต่อกันอย่�งม�ก คือ
(1) ภ�วะเป็นกล�ง (neutralism) ก�รอยู่ร่วมกันของสิ่งมีชีวิตที่ทั้งสองฝ่�ยมิได้รับประโยชน์
จ�กอีกฝ่�ยหนึ่ง และก็ไม่เป็นอันตร�ยต่อกัน
(2) ภ�วะอิงอ�ศัย (commensalism) ก�รอยู่ร่วมกันที่สิ่งมีชีวิตหนึ่งได้ประโยชน์ โดยไม่มี
ผลกระทบหรือไม่เป็นอันตร�ยกับอีกฝ่�ยหนึ่ง คำ� commensal ม�จ�กคำ�ในภ�ษ�ล�ติน 2 คำ� คือ com-
และ mensa ซึ่งมีคว�มหม�ยว่�ใช้โต๊ะร่วมกัน (sharing a table หรือ at the table together)
(3) ก�รได้ประโยชน์ร่วมกัน (protocooperation) ก�รอยู่ร่วมกันในลักษณะที่สิ่งมีชีวิตทั้งสอง
ฝ่�ยต่�งก็ได้ประโยชน์ แต่ก็จัดเป็นคว�มสัมพันธ์แบบไม่แท้หรือปรับได้ (facultative relationship)
เพร�ะแต่ละฝ่�ยส�ม�รถอยู่ได้โดยอิสระ
(4) ภ�วะพึ่งพ�กัน (mutualism) ก�รอยู่ร่วมกันในลักษณะที่สิ่งมีชีวิตทั้งสองฝ่�ยต่�งก็ได้
ประโยชน์และต่�งฝ่�ยต่�งก็ต้องพึ่งพ�อีกฝ่�ยหนึ่ง (inter-dependent with each other) คำ�ว่� mutual
แปลว่�ทั้งสองฝ่�ย ต่�งคนต่�งมี ซึ่งกันและกัน หรือร่วมกัน ภ�วะพึ่งพ�กันคือคว�มสัมพันธ์ระหว่�งสิ่งมี
ชีวิตต่�งชนิด (species) 2 ตัว (หรือ 1 ตัวกับ 1 ต้น) ซึ่งแต่ละฝ่�ยต่�งได้รับประโยชน์จ�กคว�มสัมพันธ์นี้
เช่น ไม้ดอกกับแมลงช่วยถ่�ยเรณู (pollinator) ซึ่งแมลงได้กินนำ้�หว�น ส่วนพืชมีก�รถ่�ยเรณู และไรโซเบียม
กับถั่ว ซึ่งไรโซเบียมได้แหล่งพลังง�นและโครงค�ร์บอนจ�กถั่ว ส่วนถั่วได้ไนโตรเจนที่ไรโซเบียมตรึงได้
คว�มสัมพันธ์ระหว่�งสิ่งมีชีวิตที่เป็นภ�วะอยู่ร่วมกันแบบพึ่งพ�กัน (symbiotic mutualistic
relationship) แบ่งเป็นประเภทได้หล�ยวิธี เช่น
แบ่งต�มลักษณะก�รพึ่งพ�ได้เป็น 2 แบบ คือ (1) พึ่งพ�กันอย่�งแท้จริง คือคู่สมชีพ
(symbionts) ต้องพึ่งพ�กันแบบคู่แท้ (obligate) คือต้องอยู่ด้วยกันเท่�นั้นจึงจะมีชีวิตรอดได้ และ (2)
พึ่งพ�กันอย่�งไม่แท้ คือคู่สมชีพปรับสภ�พได้ (facultative) เมื่ออยู่ร่วมกันก็เกื้อกูลกัน แต่มีชีวิตรอดได้
เมื่ออยู่ต�มลำ�พัง
แบ่งต�มลักษณะของก�รรวมตัว (association) ได้เป็น 2 แบบ คือ (1) เก�ะอยู่ภ�ยนอก
(ectosymbiosis) คือคู่สมชีพฝ่�ยหนึ่งเก�ะอยู่ภ�ยนอกของอีกฝ่�ยหนึ่ง และ (2) แทรกเข้�ไปภ�ยใน
(endosymbiosis) คือคู่สมชีพฝ่�ยหนึ่งเข้�ไปอยู่ภ�ยในเนื้อเยื่อของอีกฝ่�ยหนึ่ง โดยเข้�ไปภ�ยในเซลล์
100 สมาคมดินและปุ๋ยแห่งประเทศไทย