Page 36 -
P. 36

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
               กนกพร  นุ่มทอง

               ตําราการแปลภาษาไทยเป็นภาษาจีน




                        ๗. ลูก-ลูกโทน / ลูกเรือ / ลูกผู้ชาย / ลูกประคํา

                        ๘. คัน-คันไปทั้งตัว / คันไถ / คันเบนด / คันเร่ง
                        ๙. เทียบ-เทียบเชิญ / เทียบเวลา / ยาเทียบหนึ่ง / เทียบฝั่ง

                        ๑๐. ท้อง-ท้องเสีย / ท้องผูก / ท้องน้อย / ท้องเรือ


                                      แบบฝึกหัดที่ ๒  แปลประโยคต่อไปนี้เป็นภาษาจีน

                        ๑. นายดําดํานาทั้งวันจนตัวดํา
                        ๒. เปิดเทอมทีไร  ผู้ปกครองหน้าดําครํ่าเครียดไปตามๆ กัน

                        ๓. ตํานานเกี่ยวกับขอมดําดินหรือวาจาสิทธิ์พระร่วงมีอยู่ด้วยกันหลายสํานวน
                        ๔. ผมกนร้องไปมั่วๆ ดํานํ้าจนจบเพลงได้ไงไม่รู้

                        ๕. ซัมซุงเปิดศึกชิงดําเบอร์หนึ่งเครื่องพิมพ์
                        ๖. เหนนแก่เดนกตาดําๆ บ้างเถิด  หยุดวิพากษ์วิจารณ์เรื่องนี้ได้แล้ว

                        ๗. ว่ากันว่าคนที่โดนของหรือไสยมนต์ดําเล่นงาน  หน้าจะหมองคลํ้าไม่มีราศี
                        ๘. อาหารที่มีสีดํา  ช่วยบํารุงไต  ป้ องกันหนาว  เช่น ข้าวเหนียวดํา ถั่วดํา งาดํา  เหนดหูหนูดํา ไก่
                          ดํา เต่าดํา ฯลฯ

                        ๙. สบู่ดําเปนนพืชนํ้ามันชนิดหนึ่ง มีปลูกอยู่ทั่วทุกภาคของประเทศไทย
                        ๑๐. ถ้ามีเรื่องอะไรไม่สบายใจกนปรึกษาพี่ได้นะ เพราะเราทํางานร่วมกันจะไม่ดูดําดูดีเลยมันกน
                             ไม่ใช่



                       ๒. ค าในภาษาไทยและภาษาจีนมีความหมายทับซ้อนกันแต่กว้างแคบไม่เท่ากัน ต้อง

                       ระมัดระวังในการเลือกใช้ค าแปล

                       คําจํานวนมากในภาษาไทยและภาษาจีน  มีความหมายทับซ้อนกัน  แต่กว้างแคบไม่เท่ากัน พอใช้

               แทนกันได้  แต่ไม่หมด  ต้องให้ความระมัดระวังในการเลือกใช้คําแปลที่เหมาะสม  อันที่จริงแล้ว  ข้อนี้สืบ

               เนื่องมาจากหลักและข้อควรระวังข้อที่ ๑  แต่ที่จําเปนนต้องแยกออกมาเปนนอีกข้อหนึ่งต่างหาก  เพราะเปนน
               ประเดนนที่ผิดพลาดได้ง่ายโดยเฉพาะในกรณีที่คําในภาษาต้นฉบับมีความหมายกว้างกว่าคําในภาษาฉบับ

               แปล    ข้อผิดพลาดที่เกิดขึ้นบางครั้งเปนนเพราะความไม่รอบคอบของผู้แปล  แต่บางครั้งกนเปนนเรื่องสุดวิสัย

               เพราะขาดบริบทในการตีความ  ลักษณะดังกล่าวพบมากกับคําที่ใช้บ่อย  ตัวอย่างเช่น คําว่า กระจก ใน

               ประโยคนี้


                       แม่เชนดกระจกเสรนจแล้วกนถูพื้น







                                                            ๓๐
   31   32   33   34   35   36   37   38   39   40   41