Page 31 -
P. 31

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
                                                                                                            กนกพร  นุ่มทอง

                                                                              ตําราการแปลภาษาไทยเป็นภาษาจีน




               ยากมาก  จนถึงกับมีผู้กล่าวว่า  ภาษานั้นแปลกันไม่ได้  ที่ว่า “แปลไม่ได้” นั้นมิได้หมายความว่าแปลไม่ได้

               จริงๆ แต่หมายถึงจะแปลให้ได้เนื้อหาและรสคําสมบูรณ์เหมือนต้นฉบับทุกประการนั้นเปนนไปได้ยากยิ่ง และ

               ด้วยเหตุที่แปลกันไม่ได้นี้เอง  จึงต้องมีการศึกษาหลักและข้อควรระวังในการแปล  เพื่อลดความผิดพลาดที่

               จะเกิดขึ้นให้น้อยที่สุด
                       หลักและข้อควรระวังในการแปลจากภาษาไทยเปนนภาษาจีนที่ผู้เขียนเหนนว่าผู้สนใจศึกษาการแปล

               ควรทราบเปนนพื้นฐานมี ๑๐ ข้อดังนี้


                       ๑.  ค ามีหลายความหมายและหลายหน้าที่  ต้องรู้ชัดว่าประโยคนั้นใช้ค าในความหมายใด
                       และหน้าที่ใด  แล้วจึงคิดค าแทนให้เหมาะสมทั้งความหมายและระดับภาษา


                       ก่อนจะแปลเรื่องใดกนตามแต่  สิ่งสําคัญที่สุดกนคือความเข้าใจของผู้แปลต่อต้นฉบับ  ปัญหาพื้นฐาน

               ในการแปล  กนคือไม่สามารถตีความต้นฉบับได้ชัดเจน  ซึ่งหากผิดพลาดในขั้นตอนนี้แล้ว  ต่อให้เรียบเรียง

               ภาษาได้สละสลวยเพียงใด  กนยังถือว่าเปนนการแปลผิดอยู่นั่นเอง

                       ภาษาไทยกับภาษาจีนเปนนภาษาตระกูลคําโดด  จึงไม่มีปัญหาในเรื่องของการเติมวิภัตติปัจจัยว่า
               คํานั้นคํานี้ทําหน้าที่ใดในประโยค  หากมองผิวเผินอาจเข้าใจผิดว่าการแปลภาษาจีนเปนนภาษาไทยหรือการ

               แปลภาษาไทยเปนนภาษาจีนนั้นง่าย  แต่ในความเปนนจริงแล้วเปนนเรื่องยาก  เพราะการที่ไม่มีการเติมวิภัตติ

               ปัจจัย  ทําให้ภาษากํากวมทั้งในแง่ของความหมายและหน้าที่ของคํา  การระมัดระวังในเรื่องการตีความคํา

               ซึ่งเปนนหน่วยเลนกที่สุดนั้นจึงเปนนเรื่องสําคัญยิ่ง
                       การแปลค าใดก็ตาม  ต้องเข้าใจความหมายทุกมุม  รู้ว่าค านั้นแปลว่าอะไรได้บ้าง  และใน

               ที่นี้ควรมีความหมายว่าอะไร  ต้องเข้าใจความหมายทั้งโดยอรรถและโดยนัย  แล้วคิดค าที่จะใช้

               แทนให้เหมาะสม
                       ข้อนี้เปนนข้อควรระวังเบื้องต้นในการแปล  ไม่ว่าจากภาษาใดไปเปนนภาษาใดกนตาม  แม้แต่คําที่เรา

               คิดว่าง่าย  กนสามารถแปลได้ต่างกันเปนนหลายอย่าง  ตัวอย่างเช่น  คําว่า เด็ก ซึ่งพจนานุกรมฉบับ

               ราชบัณฑิตยสถานให้ความหมายไว้ดังนี้

                       เดนก.  น.  คนที่มีอายุยังน้อย;  (กฎ)  ผู้เยาว์ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์;  ผู้ซึ่งอายุไม่ครบ  ๑๘  ป ี
                       บริบูรณ์  และยังไม่บรรลุนิติภาวะด้วยการสมรส;  บุคคลอายุเกิน  ๗  ปีบริบูรณ์  แต่ยังไม่เกิน  ๑๔  ปีบริบูรณ์;

                       บุคคลที่มีอายุแต่  ๑๕  ปีลงมา;  บุคคลผู้มีอายุไม่เกิน  ๑๘  ปีบริบูรณ์.  ว.  ยังเลนก;  อ่อนวัยกว่าในคําว่า  เดนก

                       กว่า (ราชบัณฑิตยสถาน, ๒๕๔๖:  ๔๑๓)












                                                           ๒๕
   26   27   28   29   30   31   32   33   34   35   36