Page 28 -
P. 28

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
               กนกพร  นุ่มทอง

               ตําราการแปลภาษาไทยเป็นภาษาจีน




                       ๙.  ตระหนักถึงขอจํากัดของคนรุนกอนและนักแปลอื่น

                       นักแปลที่ดีพึงเขาใจถึงขอจํากัดของคนรุนกอนและนักแปลอื่น  ตองไมดูถูกคนรุนกอนหากแปล

               คลาดเคลื่อนหรือผิดไปจากตนฉบับเดิม  โดยเฉพาะอยางยิ่งการแปลในสมัยโบราณ  ซึ่งมีอุปสรรคทาง

               ภาษาและวัฒนธรรมมาก  ทั้งยังขาดพจนานุกรมหรือเครื่องมือที่จําเปนอยางในปจจุบัน  การเขาถึงขอมูล
               หรือสอบถามผูรูเปนไปดวยความยากลําบาก  ตัวอยางเชน  การแปลวรรณกรรมนิยายอิงพงศาวดารจีนใน

               สมัยตนรัตนโกสินทร  เชนเรื่อง  สามกก  ไซฮั่น  สมัยนั้นไมมีผูที่รูภาษาจีนและภาษาไทยอยูในบุคคล

               เดียวกัน    ใชวิธีรวมกันแปลเปนคณะ  โดยใหซินแสชาวจีนที่รูภาษาไทยพูดออกมาเปนภาษาไทย  เสมียน

               คนไทยจดไว  ผูรูภาษาไทยเรียบเรียงใหมใหสละสลวย  ซินแสมีหลายคน  ออกเสียงตางกัน  การถอดเสียง
               ชื่อตัวละครหรือสถานที่จึงไมเปนเอกภาพ  เนื้อหาคลาดเคลื่อนไป  ทั้งที่มาจากความเขาใจผิดในดานการ

               สื่อสารและมาจากความแตกตางทางวัฒนธรรม  การแปลสมัยนั้นจึงเปนการถอดความและเรียบเรียงใหม

               เปนสําคัญ  ในสภาพที่มีขอจํากัดทางภาษาและวัฒนธรรมเชนนี้  การแปลวรรณกรรมเปนงานใหญและมี

               คุณูปการยิ่ง  นักแปลในยุคปจจุบันสามารถศึกษาการแปลงานในสมัยโบราณไดเพื่อนํามาปรับใชในการ
               แปลของตน  จะคนควา  อธิบายจุดที่คลาดเคลื่อน  หรือแปลสํานวนใหมไวเทียบก็เปนเรื่องที่กระทําไดโดย

               มิไดละเมิดงานครู  กลับยิ่งทําใหเห็นคุณคาของงานแปลฉบับโบราณมากยิ่งขึ้น  แตนักแปลที่ดีไมพึงตําหนิ

               งานแปลสมัยโบราณแบบติเรือทั้งโกลนวาแปลวิปริตหรือแปลไมดี  เพราะนอกจากจะแสดงใหเห็นวาใจคอ

               ไมกวางขวางแลว  ยังเปนการแสดงความโงเขลาของตนเองที่ไมรูจักพิจารณาสภาพแวดลอมและขอจํากัด

               ตางๆ  ใหรอบคอบกอนเอยคําวิจารณ
                       สําหรับนักแปลอื่นที่อยูรวมยุคกับตน  ไมวาจะเปนผูมีอาวุโสสูงกวา  ใกลเคียงกัน  หรือออนอาวุโส

               กวา  หากบางครั้งพบวาเขาแปลผิด  ก็ไมควรตําหนิหรือวาราย  เพราะนอกจากจะทําใหผูรวมวงการเสีย

               กําลังใจแลว  ยังเปนการเสียไมตรีตอกันโดยไมบังควร  พึงระลึกวาการที่เขาแปลผิดหรือคลาดเคลื่อนไป

               บางจุด  มิไดหมายความวา  เขาไมสามารถเปนนักแปลที่ดีได  เขาอาจจะพลาดไปเทานั้น  หากเปนไปได
               ควรหาวิธีแนะนําอยางนุมนวล  เพื่อการพัฒนารวมกัน

                       สําหรับงานลาม  เปนงานที่ตองใชสมาธิสูง  มีเวลาคิดนอย  โอกาสแปลผิดหรือคลาดเคลื่อนไปยิ่ง

               มีมาก  ลามที่มีประสบการณนอยมักมีปญหาเรื่องความตื่นเตนและไมคุนเคยกับเนื้อหา  สวนลามที่มี

               ประสบการณ  ก็มักอายุมาก  มีปญหาเรื่องความฉับไวและความจํา  บางครั้งคํางายๆ  ที่ปรกติแปลได  ก็
               กลับกลายเปนคําที่ติดขัดหรือแปลหลุดไป  ผูกําลังทําหนาที่ลามกับผูรับฟงที่รูภาษาทั้งสองภาษา  แมจะอยู

               ในสถานที่เดียวกัน  ฟงขอความเหมือนกัน  แตไมไดอยูในสถานการณเดียวกัน  สภาวะอารมณยอม

               แตกตางกัน  ดังนั้นบอยครั้งที่จะพบวา  ผูรับฟงที่รูภาษาทั้งสองภาษานึกคําที่จะใชไดดีกวาผูกําลังทําหนาที่












                                                           ๒๒
   23   24   25   26   27   28   29   30   31   32   33