Page 23 -
P. 23

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
                                                                                                            กนกพร  นุ่มทอง

                                                                              ตําราการแปลภาษาไทยเป็นภาษาจีน




               ชัดเจนยิ่งขึ้น  ตอจากระดับคํา  ก็ตองทําความเขาใจกับเหตุผลความเชื่อมโยงของขอความ  การวาง

               ตําแหนงของขอความตางกัน  ยอมแสดงตรรกะที่ตางกัน  เมื่อเขาใจชัดเจนก็ยอมทําใหวางตําแหนงในฉบับ

               แปลและเลือกคําสันธานไดเหมาะสมในการถายทอด  นอกจากความเขาใจในเชิงภาษาแลว  ก็ยังตองทํา

               ความเขาใจกับภูมิหลังทางวัฒนธรรมของตนฉบับดวย  คนตางวัฒนธรรมกันมีวิธีการแสดงออกทางภาษา
               ตางกัน  ความเขาใจภูมิหลังทางวัฒนธรรมจึงเปนเรื่องสําคัญที่ไมอาจละเลยได


                       ๒.  ถายทอดตนฉบับเปนฉบับแปล

                       กระบวนการถายทอดตนฉบับเปนฉบับแปล  เกิดขึ้นหลังจากผูแปลทําความเขาใจตนฉบับอยาง
               ถองแทแลว  จากนั้นถายทอดเปนภาษาฉบับแปลโดยมุงใหผูอานเขาใจไดเปนสําคัญ  พยายามใชถอยคําที่

               ชัดเจนที่สุดที่จะทําใหผูอานสามารถเขาใจในสิ่งที่ผูเขียนตองการถายทอด  สวนจะถายทอดไดดีหรือไม

               ยอมขึ้นอยูกับปจจัยสําคัญ ๒ ประการ  ไดแกผูแปลมีความเขาใจตนฉบับดีเพียงใดกับผูแปลมี

               ความสามารถในภาษาฉบับแปลดีเพียงใด  การถายทอดเปนผลมาจากความเขาใจตนฉบับ  แตไมสามารถ

               กลาวไดวา  หากเขาใจตนฉบับดีแลวจะถายทอดไดดี  ในกระบวนการถายทอดตองอาศัยหลักเทคนิคหลาย
               ประการ  เปนตนวาตองรูจักใชพจนานุกรม  รูจักปรับการลําดับความใหเหมาะสม  แยกประโยคที่ซับซอน

               ใหอานเขาใจงาย  รูจักเพิ่มเติมหรือลดทอนขอความ  รูจักปรับเปลี่ยนวิธีการพูดใหเหมาะกับผูอาน  และ

               ตองรูจักเกลาสํานวนใหสละสลวย

                       ๓.  ตรวจสอบฉบับแปล

                       การตรวจสอบฉบับแปลเปนเรื่องสําคัญยิ่ง  เปนสิ่งที่นักแปลมือใหมไมควรละเลย  ซ้ํายังตองสราง

               ใหเปนนิสัยในการทํางาน  เมื่อแปลงานเสร็จ  ตองมีการตรวจสอบฉบับแปลกับตนฉบับวา  มีการแปลตก

               หรือแปลผิดหรือไม  แกไขสํานวนภาษาใหสละสลวย  จุดสําคัญที่ตองตรวจสอบยังไดแก  ชื่อคน  ชื่อ
               สถานที่  วันเวลา  ตัวเลข  ทิศทาง  ฯลฯ  ซึ่งเปนเรื่องที่อาจทําความเสียหายไดมากหากคลาดเคลื่อนไป

               ตองตรวจสอบวาผูอานฉบับแปลจะสามารถอานเขาใจภาษาหรือไม  ประโยคหรือขอความสําคัญตกไป

               หรือไม  หากเปนไปได  ใหลองอานออกเสียงฉบับแปลเพื่อตรวจสอบสํานวนภาษาไมใหขัดหู


                       คุณสมบัติของนักแปลที่มีคุณภาพกับแนวทางในการพัฒนาตนไปสูนักแปล

               คุณภาพ


                       นักแปลเปนตัวกลางในการถายทอดความหมายจากภาษาหนึ่งไปเปนอีกภาษาหนึ่ง  ดังนั้น
               คุณสมบัติพื้นฐานของนักแปลคือ  ตองเปนผูมีความรูความสามารถในการใชภาษาตนฉบับและภาษาฉบับ

               แปล  แตความสามารถทางภาษาเพียงอยางเดียวไมเพียงพอตอการเปนนักแปลที่ผลิตงานแปลที่มีคุณภาพ








                                                            ๑๗
   18   19   20   21   22   23   24   25   26   27   28