Page 19 -
P. 19

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
                                                                                                            กนกพร  นุ่มทอง

                                                                              ตําราการแปลภาษาไทยเป็นภาษาจีน




               ในการแปล  กลาวคือ  ตองเลือกแปลวรรณกรรมเอก  ไมแปลวรรณกรรมชั้นรอง  และใหใชภาษาสามัญใน

               การแปล  หูซื่อเห็นวาการคัดสรรวรรณกรรมเปนเรื่องสําคัญยิ่งยวด  ควรมีการจัดประชุมนักวิชาการผูรู

               ภาษาตางประเทศ  รวมกันคัดสรรวรรณกรรมเอกที่ไมแปลไมได  เปนตนวานวนิยายหนึ่งรอยเรื่อง  เรื่องสั้น

               หารอยเรื่อง  บทละครสามรอยเรื่อง  รอยแกวหาสิบบท  รวมเปนหนังสือชุดวรรณกรรมตะวันตก  กําหนดให
               แปลเสร็จภายในเวลาหาป  จากนั้นคอยแปลชุดที่สองตอ  เมื่อแปลเสร็จใหเชิญนักวิชาการสอบทาน  เขียน

               คํานําและประวัติผูแตง  ไมคัดสรรวรรณกรรมชั้นรองมาแปล  เนื่องจากการแปลรอยกรองเปนเรื่องยาก  จึง

               เห็นควรชะลอไวกอน  สําหรับภาษาที่ใชแปลใหใชภาษาสามัญลวน  บทละครที่เขียนดวยรอยกรองก็ให

               แปลเปนรอยแกว  หูซื่อเห็นวาการแปลวรรณกรรมตะวันตกเปนภาษาจีนโบราณ  จะทําใหฉบับแปลนั้นเสีย
               ไป  (胡适《建设的文学革命论》ใน 欧阳哲生,1998: 57)

                       ขอเสนอของหูซื่อมีอิทธิพลตอการแปลวรรณกรรมตะวันตกอยางยิ่ง  หลังจากนั้นเพียงไมนานก็มี

               การแปลวรรณกรรมตะวันตกดวยภาษาสามัญ  และมีสมาคมวิจัยวรรณกรรมทํางานแปลวรรณกรรมชุด

                       บิดาแหงวรรณกรรมใหมของจีน  หลูซวิ่น 鲁迅 (ค.ศ.๑๘๘๑-๑๙๓๖)  ไดเสนอมาตรฐานการแปล
               ไวและสงผลตอวงการแปลของจีนอยางมาก  หลูซวิ่นเสนอใหใชการแปลโดยพยัญชนะ 直译  หรือการแปล

               ตรง 硬译เขากลาววาการแปลนั้นยอมถูกตองแมไมสละสลวย 宁信而不顺  “แปลถูกตองแตไมสละสลวย

               อยางมากก็แคอานไมเขาใจ  คิดใหมากหนอยก็อาจพอเขาใจได  การแปลแบบสละสลวยแตไมถูกตอง

               กลับทําใหคนอานหลงทาง  ใหคิดอยางไรก็ไมมีทางเขาใจได  หากดูเหมือนเขาใจ  ยอมหมายความวาหลง

               ผิดทางแลว”  (鲁迅先生纪念委员会(4),1973: 335)   อยางไรก็ดี  หลูซวิ่นไมไดละเลยความสละสลวย
               จริงๆ  การที่หลูซวิ่นเนนความถูกตองเปนหลักเพราะในยุคนั้นมีการแปลโดยไมเคารพตนฉบับอยูมาก  อันที่

               จริงหลูซวิ่นใหความสําคัญทั้งความถูกตองและความสละสลวย  “การแปลนั้นตองใหความสําคัญสองดาน


               หนึ่งคือพยายามทําใหอานเขาใจงาย  สองคือรักษารสของตนฉบับ” (鲁迅先生纪念委员会(6),1973:
               348)  ขณะที่หลูซวิ่นแกงานแปลของผูอื่น  ก็ไดแสดงทัศนะไววา  “การยึดตนฉบับเกินไป  ไมกลาแปลเอา
               ความ  ทําใหผูอานอานแลวเหนื่อย...ฉะนั้นเมื่อขาพเจาตรวจแกไข  ไดแปลแกไวมากจนเกือบจะสละสลวย”

               (鲁迅先生纪念委员会(14),1973: 237)  เห็นไดชัดวาหลูซวิ่นเนนความถูกตองเปนหลัก  แตไมสนับสนุน

               การแปลที่ยึดตนฉบับตายตัวและใชภาษาที่ไมเหมาะกับธรรมชาติของภาษานั้นๆ

                       นักวิชาการรวมยุคกับหลูซวิ่นตางก็ใหการตอบรับกับทัศนะของหลูซวิ่นที่ใหความสําคัญทั้งความ
               ถูกตองและสละสลวย  ตอมา  เมื่อเปลี่ยนแปลงการปกครองเปนระบอบสังคมนิยมในป ค.ศ.๑๙๔๙  การ

               แปลเจริญกาวหนาขึ้นอีก  ปลายป ค.ศ.๑๙๕๑  รัฐบาลกลางของจีนจัดประชุมการแปลระดับชาติขึ้นเปน

               ครั้งแรก  หัวขอหลักในการประชุมคือการจัดการงานแปล  การวางแผนและการพัฒนาคุณภาพงานแปล

               พอถึงเดือนสิงหาคม ค.ศ.๑๙๕๔  สมาคมนักเขียนจีนจัดการประชุมการแปลวรรณกรรมระดับชาติขึ้นเปน









                                                            ๑๓
   14   15   16   17   18   19   20   21   22   23   24