Page 17 -
P. 17
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
กนกพร นุ่มทอง
ตําราการแปลภาษาไทยเป็นภาษาจีน
สํานวนแปลอานเขาใจงาย ตอใหแปลออกมาก็เทากับมิไดแปล เห็นไดชัดวาการสื่อความใหเขาใจนั้นเปน
เรื่องสําคัญ นับแตมีการติดตอกับตางประเทศเปนตนมา ผูที่มีความสามารถดานการแปลหาไดในทุกที่
แตทวา หากหยิบหนังสือแปลเลมใดมาดูสักเลม จะหาที่ทั้งตรงตามตนฉบับและทั้งใชสํานวนสื่อความนั้น
นอยนัก สาเหตุประการแรกคือ ผูแปลอานตนฉบับเพียงคราวๆ ไมละเอียด สาเหตุประการที่สองคือ
ไมไดทําการวิเคราะหตนฉบับในทุกดาน สาเหตุประการที่สามคือไมสามารถเขาใจตนฉบับไดอยางแทจริง
มาตรฐานการแปลสองขอแรกของเหยียนฟูคือ ถูกตองตรงตามตนฉบับ ในขณะเดียวกันก็ไมยึด
ติดกับรูปแบบของตนฉบับมากเกินไปจนไมสื่อความ หลังจากทําไดตามมาตรฐานสองขอแรก เหยียนฟูยัง
กลาวถึงความสําคัญของความงามตามแบบแผนโดยอางคัมภีรอี้จิงและคัมภีรหลุนอี่วประกอบ ดังนี้
“易曰:“修辞立诚”。子曰: ‘辞达而已!’又曰: ‘言之无文,行之不远。’三者乃
文章正轨,亦即为译事楷模。故信、达而外,求其尔雅,此不仅期以行远已耳!实则精理微
言,用汉以前字法句法,则为达易;用近世利俗文字,则求达难。”(赫胥黎、严复, 1933: 译
例言 1)
เหยียนฟูกลาวถึงขอความในคัมภีรอี้จิงที่วา การเขียนนั้นตองมีศิลปะแหงการใชถอยคําควบคูไป
กับมีใจความสําคัญชัดเจน จากนั้นยกคําพูดของขงจื๊อมาสองประโยค ประโยคหนึ่งนั้นขงจื๊อกลาววา การ
เขียนนั้นก็คือการสื่อความหมายใหชัดเจน อีกประโยคหนึ่งคือ หากถอยคําภาษาที่ใชปราศจากความงาม
ก็ไมอาจสงอิทธิพลไดกวางไกล เห็นไดชัดวาความถูกตอง การสื่อความ และความงามตามแบบแผนเปน
หลักที่ควรยึดถือในการเขียน ในขณะเดียวกันก็เปนมาตรฐานของการแปลดวย ฉะนั้นนอกจากถูกตองและ
สื่อความแลว ก็ตองใชภาษาใหงามตามแบบแผน เหยียนฟูไดกลาวตอไปวา มาตรฐานเชนนี้มิไดมีเพียง
เพื่อสงอิทธิพลตอผูอานจํานวนมากเทานั้น แตในความเปนจริงแลว งานเขียนซึ่งมีความลึกซึ้ง หากแปล
ดวยภาษากอนสมัยราชวงศฮั่นจะแปลสื่อความไดงาย ในขณะที่หากใชภาษาที่คนสมัยปจจุบันใชกันทั่วไป
แปล กลับยากในการสื่อความ มักทําใหเสียความหมายเดิมไปเพราะการใชถอยคํา
มาตรฐานความถูกตองและการสื่อความของเหยียนฟูไดรับการยอมรับมาตลอด แตมาตรฐานขอ
สุดทายนั้นเปนที่ถกเถียงกันมากในยุคปจจุบันทั้งในแงของความหมายที่แทจริงและความจําเปนหรือไมที่
ตองยึดถือเปนมาตรฐาน คนยุคปจจุบันมักแสดงความสงสัยกับมาตรฐานนี้ เปนตนวา หากตนฉบับไม
งาม จะแปลใหงามไดอยางไร และควรหรือไมที่จะตองแปลใหงาม เพราะหากแปลสิ่งที่ไมงามใหงาม ก็
ยอมเทากับถายทอดคลาดเคลื่อนไปจากตนฉบับ
ในตําราเลมนี้ ผูเขียนเลือกแปลคําวา หยา 雅 วางามตามแบบแผน แทนที่จะแปลเพียงวา
1
สละสลวยหรืองาม เพราะคํานี้มีความหมายถึงภาษาแบบแผนหรือตันติภาษาหรือภาษาโบราณของจีน
1 การตีความคําวา雅 หรือ 雅言 นั้นมีทั้งหมายถึงตันติภาษาหรือภาษาโบราณกับหมายถึงภาษากลาง การตีความวาหมายถึงตันติภาษานั้นไดอธิบายไวในเนื้อหาหลัก
แลว สวนการตีความวาหมายถึงภาษากลางนั้น มาจากขอความตอนหนึ่งในคัมภีรหลุนอี่ว 论语 บรรพ述而 ที่วา 子所雅言,《诗》、《书》、
๑๑