Page 22 -
P. 22

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
               กนกพร  นุ่มทอง

               ตําราการแปลภาษาไทยเป็นภาษาจีน




                       การแปลสัญลักษณหมายถึงการแปลสัญลักษณที่ไมใชตัวอักษรเปนสัญลักษณอักษร  หรือการ

               แปลกลับกัน  เชน  การแปลภาษามือ  การแปลสัญลักษณทางคณิตศาสตร  โนตดนตรี  เครื่องหมายจราจร

               สัญลักษณในการสนทนาในอินเทอรเน็ต  เปนตน

                       ๒.  มุมมองของเนื้อหา
                       สามารถแบงตามเนื้อหาของงานนั้นๆ ซึ่งจะใชวงศัพทตางกันออกไป เปนตนวา  งานแปลทาง

               วิทยาศาสตร  งานแปลวรรณกรรม  งานแปลดานกฎหมาย ฯลฯ

                       ๓.  มุมมองของรูปแบบ

                       สามารถแบงตามรูปแบบการประพันธ  แบงไดเปน  การแปลนวนิยาย  การแปลเรื่องสั้น  การแปล
               บทภาพยนตร  การแปลขาว  ฯลฯ

                       ๔.  มุมมองจากวิธีการแปล

                       สามารถแบงตามวิธีการแปล แบงไดเปนการแปลขอเขียน การแปลแบบลาม (แบงยอยไดเปนการ

               แปลแบบลามพูดพรอม และการแปลแบบลามพูดตาม)และการแปลดวยเครื่องคอมพิวเตอร
                       ๕.  มุมมองจากการจัดการการแปล

                       สามารถแบงตามการจัดการการแปล  เปนตนวา  การแปลเต็ม  การแปลโดยยอความ  การแปล


               โดยตัดความ  การแปลโดยดัดแปลงความ (王述文,2008:20-22)



                       กระบวนการแปล

                       การแปลเปนงานซับซอน  มีทฤษฎีอธิบายไวตางๆ กัน  ในการปฏิบัติจะเห็นไดวากระบวนการ

               พื้นฐานที่สุดไดแก ทําความเขาใจกับตนฉบับและถายทอดตนฉบับเปนฉบับแปล  อาจจะเพิ่มกระบวนการ

               ตรวจสอบฉบับแปลไวหลังจากการถายทอดอีกกระบวนการหนึ่ง

                       ๑.  ทําความเขาใจตนฉบับ

                       การทําความเขาใจตนฉบับเปนพื้นฐานสําคัญในกระบวนการแปล  หากไมสามารถเขาใจตนฉบับ

               อยางถองแท  ยอมไมสามารถถายทอดเปนฉบับแปลที่ดีได  ความเขาใจพื้นฐานที่สุดที่มีตนฉบับคือตอง
               เขาใจชัดเจนในระดับคํา  คําในภาษาหนึ่งๆ มีหลายความหมาย  และคําๆ เดียวกันปรากฏอยูตางที่กันอาจ

               ทําหนาที่ตางกัน  การเปดพจนานุกรมเปนสิ่งที่พึงกระทําเสมอเมื่อไมแนใจ  นักแปลมือใหมจํานวนหนึ่ง

               ละเลยที่จะเปดพจนานุกรม  โดยเฉพาะอยางยิ่งเมื่อพบคําที่ตนคิดวางาย  จึงมักเกิดเรื่องเขาใจตนฉบับ

               ผิดเพี้ยนไปอยางไมนาเชื่อ  นอกจากจะตองเขาใจความหมายและหนาที่ของคําแลว  ยังตองรูวาคํานั้นๆ  มี
               รสหรืออารมณเชนไร  เปนตนวามีนัยยกยองหรือมีนัยดูแคลน  จะทําใหเขาใจความหมายของตนฉบับได









                                                            ๑๖
   17   18   19   20   21   22   23   24   25   26   27