Page 31 -
P. 31

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

                                                                                                        14







                       ต้องการของลูกค้าและลดต้นทุนรวมของการขนส่งสินค้าให้แก่ลูกค้า  จุดประสงค์คือเพื่อที่จะพัฒนา
                       กระบวนการให้ต่อเนื่องจากผู้ขายถึงองค์กรและส่งต่อไปยังตามกลุ่มลูกค้า (Lambert & Cooper,
                       2000)
                                (5) การจัดการไหลของการผลิต (Manufacturing Flow Management)

                                    การจัดการการไหลของการผลิต (Manufacturing Flow Management) คือ
                       กระบวนการผลิตที่ดีจะต้องมีความยืดหยุ่นพอที่จะตอบสนองความเปลี่ยนแปลงของค าสั่งซื้อได้ (โกศล
                       ดีศีลธรรม, 2548, หน้า 14)
                                  การผลิต  หมายถึง  กระบวนการในการแปรเปลี่ยนวัตถุดิบไปสู่ผลลัพธ์ที่มีมูลค่าเพิ่ม

                       ขึ้นที่สามารถตอบสนองต่อข้อก าหนดความต้องการต่าง ๆ ของลูกค้าโดยอาศัยการเชื่อมโยงของ
                       กิจกรรมการด าเนินงานที่เกี่ยวข้องในส่วนต่าง ๆ ของระบบเป็นกลไกในการแปรเปลี่ยนนี้  โดยที่
                       กิจกรรมการด าเนินงานที่เกี่ยวข้องนี้จะพิจารณาถึงความเชื่อมโยงและการไหลของวัตถุดิบ  รวมถึง
                       ข้อมูลที่จ าเป็นและสนับสนุนการด าเนินงานในส่วนต่าง ๆ อันจะเป็นสิ่งที่ส าคัญที่ต้องจัดการตาม

                       แนวคิดของโซ่อุปทาน (วิทยา สุหฤทด ารง, 2548, หน้า 76)
                                  กระบวนการผลิตของบริษัทที่ผลิตเพื่อเก็บสต็อกแต่เดิมจะผลิตและจ าหน่ายสินค้า
                       ผ่านช่องทางกระจายสินค้าโดยอ้างอิงข้อมูลในอดีต  สินค้าถูกผลักผ่านโรงงานเพื่อจะท าให้ได้ตาม

                       ตารางการผลิตบ่อยครั้งที่ผลิตสินค้าผิดพลาดส่งผลให้เกิดสินค้าคงคลังที่ไม่ต้องการ  สินค้าคงคลังที่
                       เกินมาซึ่งท าให้ต้องแบกภาระต้นทุน  ท าให้ต้องลดราคาสินค้าลงมาและการขนถ่ายสินค้า
                                  ด้วยการจัดการห่วงโซ่อุปทาน  สินค้าถูกดึงเข้าโรงงานบนพื้นฐานของความต้องการ
                       ของลูกค้ากระบวนการการผลิตต้องสามารถยืดหยุ่นได้เพื่อตอบสนองต่อความเปลี่ยนแปลงของตลาด
                       การจัดการห่วงโซ่อุปทานต้องการความยืดหยุ่นเพื่อที่จะรองรับการเปลี่ยนแปลงที่รวดเร็วและจัดให้

                       เหมาะสม  ค าสั่งซื้อได้ถูกด าเนินการด้วยหลักการควบคุมสินค้าคงเหลือให้ทันเวลาพอดี (Just in
                       Time: JIIT) ด้วยปริมาณการจัดส่งที่น้อยที่สุด  ล าดับความส าคัญในการผลิตถูกขับเคลื่อนด้วยวันที่
                       ต้องการจัดส่ง ทั้งนี้ฝ่ายวางแผนการผลิตท างานกับฝ่ายวางแผนลูกค้าเพื่อที่จะพัฒนากลยุทธ์ส าหรับ

                       กลุ่มลูกค้าแต่ละกลุ่ม  การเปลี่ยนแปลงในกระบวนการไหลของการผลิตท าให้รอบของระยะเวลาสั้น
                       ลง  นั่นหมายถึงได้ปรับปรุงการตอบสนองต่อลูกค้า (Lambert & Cooper, 2000)
                                  ธุรกิจที่ใช้การผลิตสินค้าล่วงหน้ามักอาศัยข้อมูลการพยากรณ์จากอดีตเป็น
                       เครื่องช่วยก าหนดปริมาณสินค้าที่ผลิต  วัตถุดิบจะถูกแปรรูปเป็นสินค้าให้ได้ตามตารางที่ก าหนดไว้

                       ล่วงหน้า  เป็นผลให้มีสินค้าบางรายการที่ไม่ได้เป็นที่ต้องการของตลาดช่วงเวลาดังกล่าวและต้องเก็บ
                       ไว้เป็นสินค้าคงคลัง  เป็นต้นเหตุให้เกิดต้นทุนการเก็บรักษาสินค้าคงคลัง  ในระบบการจัดการโซ่
                       อุปทาน  วัตถุดิบจะถูกแปรรูปให้เป็นสินค้าตามความต้องการของลูกค้า  และผู้ผลิตต้องพัฒนาตนเอง
                       ให้มีความสามารถและความยืดหยุ่นพอที่จะตอบสนองความเปลี่ยนแปลงของตลาดได้  โดยเน้นการ

                       ผลิตแบบทันเวลาพอดีในปริมาณที่เหมาะสม  โดยล าดับสินค้าที่ผลิตจะถูกก าหนดจาก วัน เวลาที่
                       ต้องการท าการส่งมอบ  ตัวอย่างเช่น  ที่บริษัท 3M นักวางแผนการผลิตจะร่วมกับนักวางแผน
                       การตลาด  เพื่อวางแผนการจัดการการไหลของการผลิตส าหรับกลุ่มลูกค้าแต่ละกลุ่ม  เป็นผลให้ลด
                       เวลาวงจรการสั่งซื้อ  และเพิ่มความสามารถในการตอบสนองความต้องการของลูกค้า (Grant et al,

                       2006)
   26   27   28   29   30   31   32   33   34   35   36