Page 30 -
P. 30

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

                                                                                                        13







                       และเพิ่มประสิทธิภาพในการผลิตและจัดส่งสินค้าตลอดทั่วทั้งโซ่อุปทาน (กมลชนก สุทธิวาทนฤพุฒิ
                       และคณะ, 2546, หน้า 319)
                                    การบริหารอุปสงค์ (Demand Management) คือ การมุ่งความสมดุลระหว่าง
                       อุปสงค์ของลูกค้ากับความสามารถหรือก าลังการผลิตขององค์กร  (โกศล ดีศีลธรรม, 2548, หน้า 14)

                                    การพยากรณ์สามารถท าให้การจัดการโซ่อุปทานเป็นกิจกรรมเชิงรุกมากกว่าเชิง
                       รับในกิจกรรมของการจัดการวัสดุต้องการข้อมูลจากการพยากรณ์เพื่อช่วยในการวางแผนความ
                       ต้องการวัสดุ (Materials Requirements Planning หรือ MRP) และการวางแผนการกระจายสินค้า
                       (Distribution Requirements Planning หรือ DRP) การพยากรณ์ช่วยในการตัดสินใจด้านโลจิสติกส์

                       ประโยชน์ที่ได้จากการพยากรณ์มีดังนี้ (Grant et al, 2006)
                              -  เพิ่มความพอใจของลูกค้า (Increasing customer satisfaction)
                              -  ลดปัญหาสินค้าขาดมือ (Reducing stock outs)
                              -  เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของก าหนดการผลิต (Scheduling product more efficiently)

                              -  ลดจ านวนสินค้าปลอดภัย (Lowering safety stock requirements)
                              -  ลดต้นทุนสินค้าเสื่อม (Reducing product obsolescence costs)
                              -  ปรับปรุงประสิทธิภาพการจัดส่ง (Managing shipping better)

                              -  ปรับปรุงราคาและการส่งเสริมการจัดจ าหน่าย (Improving pricing and promotion
                       management)
                                  (4) กระบวนเติมเต็มค้าสั่งซื อของลูกค้า (Order Fulfillment)
                                    ปัจจัยของการจัดการโซ่อุปทานที่มีประสิทธิภาพ คือ การตอบสนองความต้องการ
                       ของลูกค้าตามที่ลูกค้าคาดหวัง  ซึ่งการจัดการค าสั่งซื้ออย่างมีประสิทธิภาพจะต้องจัดท าแผนรวมที่

                       เกี่ยวข้องกับการผลิต  การกระจายสินค้า  และการขนส่ง  รวมทั้งพัฒนาการท างานร่วมกันระหว่าง
                       สมาชิกในการกระจายสินค้า (กมลชนก สุทธิวาทนฤพุฒิ และคณะ, 2546, หน้า 319)
                                  สมรรถนะของการเติมเต็มค าสั่งซื้อ (Order Fulfillment Performance) เป็น

                       ตัวชี้วัดตัวที่มีความสัมพันธ์ใกล้ชิดกับสมรรถนะของการจัดส่ง  เวลาน าของการเติมเต็มค าสั่งซื้อ นับ
                       จากวันเวลาเฉลี่ยจากวันและเวลาที่ค าสั่งซื้อเกิดขึ้นจนถึงวันและเวลาที่ลูกค้าได้รับของจากค าสั่งซื้อนั้น
                       จากมุมมองของลูกค้าไม่เพียงแต่ต้องการให้มีเวลาน าที่สั้น  แต่ต้องมีความน่าเชื่อถือด้วย จึงท าให้
                       ลูกค้าพอใจและน าไปสู่ความสัมพันธ์ที่แนบแน่น

                                  การเติมเต็มค าสั่งซื้อสมบูรณ์ (Perfect Order Fulfillment) การเติมเต็มค าสั่งซื้อ
                       สมบูรณ์นี้ก็มีส่วนเกี่ยวข้องกับสมรรถนะการจัดส่งเช่นกัน  แต่จะเป็นตัวแทนของเกณฑ์การวัดที่เข้มข้น
                       ที่สุด  ตัวชี้วัดนี้จะดูที่มีการส่งผลิตภัณฑ์ที่ถูกต้อง  ถูกเวลา  ถูกสถานที่ เพราะคงจะมีแต่การเติมเต็มที่
                       สมบูรณ์เท่านั้นที่จะสร้างความพึงพอใจให้กับลูกค้าได้ (วิทยา สุหฤทด ารง, 2546, หน้า 213)

                                  กุญแจส าคัญที่จะท าให้การจัดการห่วงโซ่อุปทานให้มีประสิทธิภาพคือการท าให้ได้
                       ตรงตามวันที่ลูกค้าต้องการ มันมีความส าคัญที่จะท าให้บรรลุถึงอัตราเติมเต็มค าสั่งซื้อในระดับสูงทั้งที่
                       เป็นตามรายสินค้าหรือตามค าสั่งซื้อ การท าให้กระบวนการเติมเต็มค าสั่งซื้อให้มีประสิทธิภาพต้องการ
                       บูรณาการ ในเรื่องการผลิต การกระจายสินค้า และแผนการขนส่งสินค้าของบริษัท  ความร่วมมือนี้

                       ควรที่จะถูกพัฒนาด้วยสมาชิกหลักที่อยู่ในห่วงโซ่อุปทานและผู้ขนส่งสินค้าเพื่อที่จะท าให้ได้ตามความ
   25   26   27   28   29   30   31   32   33   34   35