Page 33 -
P. 33

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

                                                                                                        16







                                    การจัดการส่งสินค้าคืนก็คือกระบวนการธุรกิจที่เสนอโอกาสเดียวกันเพื่อที่จะ
                       สามารถได้เปรียบในการแข่งขันอย่างยั่งยืนซึ่งคล้ายคลึงกับการจัดการห่วงโซ่อุปทานจากมุมมอง
                       ภายนอกในหลาย ๆ ประเทศ  นี่อาจจะเป็นประเด็นที่เกิดจากสิ่งแวดล้อมภายนอก  แต่ก็ไม่เสมอไป
                       การจัดการกระบวนการส่งคืนสินค้าที่มีประสิทธิภาพท าให้สามารถบ่งบอกถึงโอกาสที่จะปรับปรุง

                       ความสามารถในการผลิตและความสามารถในการฝ่าฟันอุปสรรคในการท าโครงการ
                                  (9) ดัชนีวัดประสิทธิภาพของการจัดการโซ่อุปทาน
                                    ในปัจจุบันมีหลาย ๆ องค์กรน าแนวคิดการบริหารโซ่อุปทานหรือ Supply Chain
                       Management หรือ SCM มาใช้ในองค์กร เพื่อท าให้องค์กรและโซ่อุปทานของตนเองมีประสิทธิภาพ

                       ลดต้นทุนและมีความสามารถในการแข่งขันทางธุรกิจ ซึ่งก็มีเครื่องมือที่ช่วยในการเริ่มต้นการพัฒนาโซ่
                       อุปทานในเรื่องของการน าเสนอ วิเคราะห์ และจัดโครงสร้างพื้นฐานของโซ่อุปทานเรียกว่า SCOR
                       Model (Supply Chain Operation Reference) แบบจ าลองอ้างอิงการด าเนินงานของโซ่อุปทาน
                       ถูกพัฒนาขึ้นโดย Supply Chain Council (SCC) ซึ่งเป็นองค์กรอิสระที่ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี 1996 (วิทยา

                       สุหฤทด ารง, 2546, หน้า 193)
                                    องค์ประกอบของแบบจ าลองคือ  มีการก าหนดกระบวนการต่าง ๆ ให้เป็น
                       มาตรฐานและมีค าอธิบายกระบวนการ  มีโครงสร้างแสดงความสัมพันธ์ระหว่างกระบวนการ  มีการ

                       ก าหนดมาตรวัด  (Metric)  หรือดัชนีวัดประสิทธิภาพ (KPI)  ส าหรับวัดประสิทธิภาพในแต่ละ
                       กระบวนการ  และวิธีปฏิบัติที่ดีที่สุด (Best practice)  เพื่อจะให้องค์กรน าไปประยุกต์ใช้ SCOR
                       Model ประกอบไปด้วยกระบวนการส าคัญ 5 กระบวนการคือ
                                      Plan    (P) เกี่ยวข้องกับการวางแผนต่างๆ
                                      Source (S) การจัดซื้อ จัดหา การรับและขนส่งวัตถุดิบ

                                      Make   (M) เกี่ยวข้องกับการผลิตผลิตภัณฑ์
                                      Deliver (D) การจัดการในการขนส่งผลิตภัณฑ์ไปให้ลูกค้า
                                      Returns (R) การส่งสินค้ากลับคืน

                                    การประยุกต์ใช้ SCOR Model ในองค์กรเพื่อช่วยในเรื่องการจัดการโซ่อุปทานให้
                       มีประสิทธิภาพมี 4 ประเภท  คือในส่วนของความสามารถในการแสดงให้เห็นถึงความยืดหยุ่นและการ
                       ตอบสนอง (Flexibility and Responsiveness) ในส่วนของค่าใช้จ่าย (Cost) ในส่วนของความ
                       น่าเชื่อถือ (Reliability) และในส่วนของทรัพย์สิน (Assets) ซึ่งในการศึกษาการจัดการห่วงโซ่อุปทาน

                       ปลาน้ าจืดธรรมชาติสู่การเพิ่มมูลค่าในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบนนี้ จะใช้ดัชนีวัด
                       ประสิทธิภาพไว้ ดังนี้
                                  - ความยืดหยุ่นและการตอบสนอง (Flexibility and Responsiveness) เป็น
                       ตัวชี้วัดการตอบสนองของโซ่อุปทานเกี่ยวกับความยืดหยุ่นในการผลิต โดยยึดค่าความยืดหยุ่นต่อความ

                       ต้องการลดหรือเพิ่มการผลิตในเวลาหนึ่ง ๆ เช่น ในฤดูกาลมีการขายน้อยหรือมากกว่าปกติ ส่วนใน
                       เรื่องของการตอบสนอง คือความสามารถของการจัดการโซ่อุปทานที่จะสนองต่อความเปลี่ยนแปลงใน
                       อนาคต จะต้องตอบสนองอย่างรวดเร็วเพื่อให้แน่ใจถึงความสามารถในการแข่งขัน (ดวงพรรณ กริช
                       ชาญชัย, 2549, หน้า 44)
   28   29   30   31   32   33   34   35   36   37   38