Page 53 -
P. 53

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว





               เทศ ผักกาดขาว คะน้า ถั่วฝักยาว มะเขือเปราะ กะเพรา และพริกแดง ในพื้นที่จังหวัดกรุงเทพมหานครและ

               ปริมณฑล จังหวัดเชียงใหม่ และจังหวัดอุบลราชธานี ซึ่งมีการสุ่มเก็บตัวอย่างจากแหล่งจ าหน่าย ดังนี้  1)
               ห้างสรรพสินค้าในกรุงเทพและปริมณฑล ทั้งที่มีเครื่องหมายรับรองมาตรฐาน Q  และไม่มีเครื่องหมายรับรอง

               มาตรฐาน Q 2) ตลาดส่งค้าส่ง ได้แก่ ตลาดไท ตลาดสี่มุมเมือง ตลาดเชียงใหม่ ตลาดศรีเจริญ (เครือข่ายเตือน

               ภัยสารเคมีก าจัดศัตรูพืช, 2559)  จากการตรวจสอบการตกค้างของสารเคมีก าจัดศัตรูพืชในผัก พบว่า ผักที่มี
               การตกค้างเกินค่า MRL  ได้แก่ พริกแดง ซึ่งมีการพบการตกค้างร้อยละ 100  ของกลุ่มตัวอย่าง รองลงมาคือ

               กะเพราและถั่วฝักยาว มีการพบการตกค้างร้อยละ 66.67  ต่อมาคือ คะน้า พบมีการตกค้างร้อยละ 55.56
               ผักกาดขาว ร้อยละ 33 ผักบุ้งจีน ร้อยละ 22 มะเขือเทศและแตงกวา ร้อยละ 11 (ภาพที่ 4.3)


                   กะหล่ าปลี                                100

                 มะเขือเปราะ          33.33                             66.67

                     แตงกวา                          77.78                         11.11  11.11

                   มะเขือเทศ              44.44                         44.44             11.11
                     ผักบุ้งจีน               55.56                     22.22         22.22

                   ผักกาดขาว              44.44                 22.22              33.33

                       คะน้า              44.44                            55.56
                    ถั่วฝักยาว        33.33                             66.67

                     กะเพรา           33.33                             66.67

                     พริกแดง                                 100

                            0%           20%          40%           60%          80%          100%
                                 ไม่พบ     พบในปริมาณต่ ากว่า MRL   พบในปริมาณสูงกว่า MRL
                                                                                            ร้อยละ



               ที่มา: เครือข่ายเตือนภัยสารเคมีก าจัดศัตรูพืช (2559)

               ภาพที่ 4.3 การพบสารเคมีก าจัดศัตรูพืชตกค้างในผัก พ.ศ. 2559



                       เมื่อพิจารณาสารเคมีก าจัดศัตรูพืชตกค้างในแต่ละแหล่งจ าหน่ายสินค้า และเครื่องหมายรับรอง

               มาตรฐาน Q  พบว่า ตัวอย่างผักและผลไม้ ที่มีเครื่องหมายรับรองมาตรฐานมีการตรวจพบสารเคมีก าจัดศัตรู
               ตกค้างมากถึงร้อยละ 57  รองลงมาคือผักและผลไม้จากตลาด ร้อยละ 48  ต่อมาคือผักและผลไม้จาก

               ห้างสรรพสินค้าร้อยละ 46  ขณะที่ผักและผลไม้ที่มีเครื่องหมายรับรองมาตรฐาน Organic  Thailand  มีการ
               ตรวจพบสารเคมีตกค้างถึงร้อยละ 25 ของกลุ่มตัวอย่าง (ภาพที่ 4.4)








                                                           38
   48   49   50   51   52   53   54   55   56   57   58