Page 50 -
P. 50
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
ผลิตทางการเกษตร กรมวิชาการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ได้น าค่า Codex MRL มาเป็นเกณฑ์ใน
การก าหนดค่า MRLs ในการก าหนดค่าปริมาณสารตกค้างสูงสุดในผัก กรมวิชาการเกษตรได้อาศัยข้อมูลการ
ทดลองสารเคมีที่แปลงปลูกพืช ข้อมูลการบริโภค ข้อมูลพิษวิทยาและข้อมูลพื้นฐานในแต่ละท้องถิ่นมา
พิจารณา ท าให้การก าหนดค่า MRLs ของประเทศไทยมีความแตกต่างกับสหภาพยุโรป (ภาพที่ 4.2) เช่น EU
ก าหนดค่า MRLs ของสารเมโทมิลในข้าว ผักกาดและผักคะน้าไว้ไม่เกิน 0.02 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม ขณะที่ไทย
ก าหนดไว้ไม่เกิน 1 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม (เครือข่ายเตือนภัยสารเคมีก าจัดศัตรูพืช อ้างใน สาคร ศรีมุข, 2556)
การปนเปื้อนสู่กระบวนการ/บริการ
อาหาร
น าเข้า ผู้บริโภค
- ถูกต้อง
- ผิดกฎหมาย ตัด/ Super ร้านอาหาร
- น าเข้า เก็บเกี่ยว Market /แผงลอย
ช่องทางอื่น
ร้าน ใช้
จ าหน่าย เกษตรกร ตัดแต่ง ตลาดสด/
ค้าส่ง
ผลิตเอง
-ผสมเองใน โรงงาน ตลาดนัด รถเร่
ประเทศ
- โรงงาน MRLs
ที่มา: ส านักส่งเสริมและสนับสนุนอาหารปลอดภัย (2558)
ภาพที่ 4.2 วงจรสารเคมีก าจัดศัตรูพืชในห่วงโซ่อาหาร (Food Chain)
4.3.4 ความปลอดภัยทางอาหาร (Food Safety)
มาตรการความปลอดภัยทางอาหาร เป็นมาตรการที่ให้ผู้บริโภคมีความปลอดภัยในการบริโภคสินค้า
เกษตรและสินค้าอาหาร ตามกฎหมายว่าด้วยอาหารและกฎหมายที่เกี่ยวข้อง โดยผู้บริโภคจะมีความปลอดภัย
จากอันตรายที่มาจากอาหาร (Food Hazard) ซึ่งได้แก่ (1) อันตรายทางชีวภาพ หมายถึง อันตรายที่เกิดจาก
สิ่งมีชีวิต เช่น เชื้อจุลินทรีย์ ปรสิต ไวรัส เป็นต้น (2) อันตรายทางเคมี หมายถึง อันตรายจากสารเคมีที่มีอยู่ใน
ธรรมชาติ เช่น สารพิษตกค้างจากสารเคมีก าจัดศัตรูพืชในผักผลไม้ ยาปฏิชีวนะในเนื้อสัตว์ สารเคมีเจือปนใน
อาหาร (3) อันตรายทางกายภาพ หมายถึง อันตรายจากวัตถุปลอมปน เช่น เศษโลหะ เศษแก้ว โดยในปัจจุบัน
การผลิตทางการเกษตรมีการใช้สารเคมีปูองกันก าจัดศัตรูพืชในปริมาณที่เพิ่มขึ้น และพบว่ามีการตกค้างในผัก
35